นิราศรัย คือ
-ไส
(แบบ) ว. ไม่อยู่เป็นที่, ไม่ติดอยู่กับที่. (ส.).
- นิ ( โบ ) ใช้เสริมคำให้พยางค์สละสลวยขึ้น เช่น สนุกนิ สำนักนิ.
- นิร -ระ- ว. คำประกอบหน้าคำอื่น แปลว่า ไม่, ไม่มี, ออก.
- นิรา ( กลอน ) ก. ไปจาก. ว. ไม่มี. ( ส. นิรฺ).
- นิราศ ๑ -ราด ก. ไปจาก, ระเหระหน, ปราศจาก. น. เรื่องราวที่พรรณนาถึงการจากกันหรือจากที่อยู่ไปในที่ต่าง ๆ เป็นต้น มักแต่งเป็นกลอนหรือโคลง เช่น
- รา ๑ น. ไม้ที่กระหนาบอยู่ใต้ท้องพรึงรับพื้นเรือนเพื่อไม่ให้พื้นอ่อน อยู่ระหว่างรอด; ไม้จีมเสาที่ปากหลุมซึ่งยังไม่ได้กลบดินเพื่อกันไม่ให้โอนเอน
- ศร สอน น. อาวุธชนิดหนึ่ง ประกอบด้วยคันสำหรับยิง เรียกว่า คันศร กับลูกที่มีปลายแหลม เรียกว่า ลูกศร, เรียกสายคันศรว่า สายศร,
- ศรัย ไส น. ที่พักพิง, ที่พึ่ง, ที่อาศัย, ที่ร่มเย็น. ( ส. ศฺรย).
- รัย ว. รยะ, เร็ว, ไว. ( ป. , ส. รย).
- นักปราศรัย ผู้กล่าวคําปราศรัย
- ปราศรัย ปฺราไส น. การพูดด้วยไมตรีจิต, การแสดงอัชฌาสัยในระหว่างผู้ใหญ่ต่อผู้น้อยหรือผู้ที่เสมอกัน; คำปรารภ. ก. พูดด้วยไมตรีจิต, พูดแสดงอัชฌาสัยระหว่างผู้ใหญ่ต่อผู้น้อยหรือผู้ที่เสมอกัน; ปรารภ. (ส. ปฺรศฺรย).
- นิราศรพ -สบ (แบบ) ว. ไม่มีเครื่องหมักหมมในสันดาน, หมดมลทิน, หมายถึง พระอรหันต์. (ส. นิราศรฺว).
- คำปราศรัย คำปราศัย คำสุนทรพจน์ คำโวหาร ศิลปะแห่งการพูด ศิลปะการแสดงสุนทรพจน์
- คําปราศรัย คําพูด สุนทรพจน์ คําบรรยาย ถ้อยคํา กระแสพระราชดํารัส คําแถลงการณ์
- ผู้ปราศรัย ผู้แสดงปาฐกถา อาจารย์
- ปรานีปราศรัย ปฺรานีปฺราไส ก. ปรานี (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น ใช้อย่างไม่ปรานีปราศรัย.