เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

บุษย- คือ

การออกเสียง:
ความหมายมือถือ
  • บุดสะยะ-, บุด, บุดสะยะ, ปุดสะยะ, ปุดสะ
    น. ดาวฤกษ์ที่ ๘ มี ๕ ดวง เห็นเป็นรูปปุยฝ้าย พวงดอกไม้ ดอกบัว หรือ โลง, ดาวปุยฝ้าย ดาวพวงดอกไม้ ดาวดอกบัว ดาวโลง ดาวปู ดาวสมอสำเภา หรือ ดาวสิธยะ ก็เรียก. (ส. ปุษฺย; ป. ปุสฺส); แก้วสีขาว; บัว.
  • บุ     ก. ตีให้เข้ารูป เช่น บุขัน, เอาของบาง ๆ หุ้มข้างนอก เช่น บุหนัง บุพลาสติก หรือรองข้างใน เช่น บุหลังคา.
  • บุษย     บุดสะยะ-, บุด, บุดสะยะ, ปุดสะยะ, ปุดสะ น. ดาวฤกษ์ที่ ๘ มี ๕ ดวง เห็นเป็นรูปปุยฝ้าย พวงดอกไม้ ดอกบัว หรือ โลง, ดาวปุยฝ้าย ดาวพวงดอกไม้ ดาวดอกบัว
  • บุษย์    ปุดสะยะ, ปุดสะ, บุด, บุดสะยะ น. ดาวฤกษ์ที่ ๘ มี ๕ ดวง เห็นเป็นรูปปุยฝ้าย พวงดอกไม้ ดอกบัว หรือโลง, ดาวปุยฝ้าย ดาวพวงดอกไม้ ดาวดอกบัว ดาวโลง ดาวปู ดาวสมอสำเภา หรือ ดาวสิธยะ ก็เรียก. (ส. ปุษฺย; ป. ปุส
  • บุษยะ    ปุดสะยะ, ปุดสะ, บุด, บุดสะยะ น. ดาวฤกษ์ที่ ๘ มี ๕ ดวง เห็นเป็นรูปปุยฝ้าย พวงดอกไม้ ดอกบัว หรือโลง, ดาวปุยฝ้าย ดาวพวงดอกไม้ ดาวดอกบัว ดาวโลง ดาวปู ดาวสมอสำเภา หรือ ดาวสิธยะ ก็เรียก. (ส. ปุษฺย; ป. ปุส
  • บุษยมาส    น. เดือนอันมีพระจันทร์เพ็ญเสวยนักษัตรบุษยะ คือ เดือนยี่ ตกในราวมกราคม. (ส.).
  • บุษยสนาน    น. พิธีอาบน้ำเมื่อพระจันทร์กำลังผ่านหมู่ดาวบุษยะ, บุษยาภิเษก ก็ว่า.
  • บุษยาภิเษก    น. บุษยสนาน.
  • บุษย์น้ำทอง    ดู บุษบราค.
  • บุษย์น้ําทอง    บุษราคัม
  • มนุษย    มะนุดสะยะ-, มะนุด น. สัตว์ที่รู้จักใช้เหตุผล, สัตว์ที่มีจิตใจสูง, คน. (ส.; ป. มนุสฺส).
  • มนุษย-    มะนุดสะยะ-, มะนุด น. สัตว์ที่รู้จักใช้เหตุผล, สัตว์ที่มีจิตใจสูง, คน. (ส.; ป. มนุสฺส).
  • มนุษย์    มะนุดสะยะ-, มะนุด น. สัตว์ที่รู้จักใช้เหตุผล, สัตว์ที่มีจิตใจสูง, คน. (ส.; ป. มนุสฺส).
  • ศิษย    สิดสะยะ-, สิด น. ผู้ศึกษาวิชาความรู้จากครูหรืออาจารย์, คู่กับ ครู หรืออาจารย์, ผู้อยู่ในความคุ้มครองดูแลของอาจารย์ เช่น ศิษย์วัด, โดยปริยายหมายถึงผู้ที่ศึกษาหาความรู้จากตำราของผู้ใดผู้หนึ่งแล้วนับถื
  • ศิษย-    สิดสะยะ-, สิด น. ผู้ศึกษาวิชาความรู้จากครูหรืออาจารย์, คู่กับ ครู หรืออาจารย์, ผู้อยู่ในความคุ้มครองดูแลของอาจารย์ เช่น ศิษย์วัด, โดยปริยายหมายถึงผู้ที่ศึกษาหาความรู้จากตำราของผู้ใดผู้หนึ่งแล้วนับถื
  • ศิษย์    สิดสะยะ-, สิด น. ผู้ศึกษาวิชาความรู้จากครูหรืออาจารย์, คู่กับ ครู หรืออาจารย์, ผู้อยู่ในความคุ้มครองดูแลของอาจารย์ เช่น ศิษย์วัด, โดยปริยายหมายถึงผู้ที่ศึกษาหาความรู้จากตำราของผู้ใดผู้หนึ่งแล้วนับถื