ปฏิคหิต- คือ
ปะติกคะหิด, ปะติกคะหิตะ-
(แบบ) ก. รับเอา เช่น เราก็ปฏิคคหิตด้วยศรัทธา. (ม. คำหลวง วนปเวสน์).
ว. อันรับเอาแล้ว. (ป. ปฏิคฺคหิต).
- ปฏิ คำอุปสรรคในภาษาบาลีใช้นำหน้าศัพท์อื่น แปลว่า เฉพาะ, ตอบ, ทวน, กลับ. ( ป. ; ส. ปฺรติ).
- ปฏิคหิต ปะติกคะหิด, ปะติกคะหิตะ- ( แบบ ) ก. รับเอา เช่น เราก็ปฏิคคหิตด้วยศรัทธา. ( ม. คำหลวง วนปเวสน์). ว. อันรับเอาแล้ว. ( ป. ปฏิคฺคหิต).
- คห คะหะ- ( แบบ ) น. เรือน, ใช้เป็นคำหน้าสมาส เช่น คหกรรม. ( ป. ).
- หิต หิด, หิตะ- น. ความเกื้อกูล, ประโยชน์. ( ป. , ส. ).
- หิต- หิด, หิตะ- น. ความเกื้อกูล, ประโยชน์. ( ป. , ส. ).
- ปฏิคคหิต ปะติกคะหิด, ปะติกคะหิตะ- (แบบ) ก. รับเอา เช่น เราก็ปฏิคคหิตด้วยศรัทธา. (ม. คำหลวง วนปเวสน์). ว. อันรับเอาแล้ว. (ป. ปฏิคฺคหิต).
- นฤคหิต นะรึคะหิด (โบ) น. ชื่อเครื่องหมายรูปดังนี้ ํ, นิคหิต หรือ หยาดน้ำค้าง ก็เรียก. (ส. นิคฺฤหีต; ป. นิคฺคหีต). (ดู นิคหิต).
- นิคหิต นิกคะหิด (โบ) น. ชื่อเครื่องหมายรูปดังนี้ ํ ในภาษาบาลีและสันสกฤตมีเสียงอ่านเหมือนตัว ง และ ม สะกด ในภาษาไทยก็อนุโลมใช้ตาม เช่น จํหัน อ่านว่า จังหัน fig0102.jpg (ชํนํ) อ่านว่า ชุมนุม, นฤคหิต หรือ หย
- อุคหนิมิต น. “อารมณ์ที่เจนใจ” คือ เป็นวิธีแห่งผู้เพ่งกสิณชำนาญจนรูปที่ตนเพ่งอยู่นั้นติดตาถึงแม้หลับตาเสีย รูปนั้นก็ปรากฏเป็นเครื่องหมายอยู่ รูปที่ปรากฏนี้ เรียกว่า อุคหนิมิต. (ป. อุคฺคหนิมิตฺต; ส. อุทฺคฺรห +
- คห- คะหะ- (แบบ) น. เรือน, ใช้เป็นคำหน้าสมาส เช่น คหกรรม. (ป.).
- ปฏิบัติ ก. ดำเนินการไปตามระเบียบแบบแผน เช่น ปฏิบัติราชการ, กระทำเพื่อให้เกิดความชำนาญ เช่น ภาคปฏิบัติ; กระทำตาม เช่น ปฏิบัติตามสัญญา; ประพฤติ เช่น ปฏิบัติสมณธรรม ปฏิบัติต่อกัน; ปรนนิบัติรับใช้ เช่น ปฏิบัติบ
- ปฏิบัติดี ทําดี ปฏิบัติชอบ ประพฤติชอบ ประพฤติดี
- ปฏิบัติตน ประพฤติตน ประพฤติตัว กระทําตน กระทํา ดําเนินตน ทําตัว ปฏิบัติ ปฏิบัติตัว ประพฤติ วางตน วางตัว ทําตน
- ปฏิบัติได้ เหมาะมือเหมาะสำหรับการใช้ ใช้ประโยชน์ได้
- ปฏิวัติ น. การหมุนกลับ, การผันแปรเปลี่ยนหลักมูล; การเปลี่ยนแปลงระบบ เช่น ปฏิวัติอุตสาหกรรม, การเปลี่ยนแปลงระบอบการบริหารบ้านเมือง เช่น ปฏิวัติการปกครอง. (ป. ปฏิวตฺติ).