ปฏิฆะ คือ
- (แบบ) น. ความคับแค้น, ความกระทบกระทั่ง, ความขึ้งเคียด (โทสะ). (ป.).
- ปฏิ คำอุปสรรคในภาษาบาลีใช้นำหน้าศัพท์อื่น แปลว่า เฉพาะ, ตอบ, ทวน, กลับ. ( ป. ; ส. ปฺรติ).
- อัปฏิฆะ อับปะติคะ ว. ไม่ระคายใจ, ไม่เคืองใจ, ไม่แค้นเคือง. (ป. อปฺปฏิฆ).
- มฆะ -, มะคะ, มะคา น. ดาวฤกษ์ที่ ๑๐ มี ๕ ดวง เห็นเป็นรูปโคมูตร วานร หรืองอนไถ, ดาวโคมูตร ดาววานร ดาวงอนไถ หรือ ดาวงูผู้ ก็เรียก. (ป., ส.).
- อฆะ ๑ อะคะ น. ความชั่ว, บาป, ความทุกข์ร้อน. (ป., ส.). ๒ อะคะ น. อากาศ, ฟ้า. (ป.).
- ปฏิ- คำอุปสรรคในภาษาบาลีใช้นำหน้าศัพท์อื่น แปลว่า เฉพาะ, ตอบ, ทวน, กลับ. (ป.; ส. ปฺรติ).
- นิทาฆะ (แบบ) น. ความร้อน, ความอบอ้าว; หน้าร้อน (ระหว่างเดือนพฤษภาคมถึงมิถุนายน). (ป.).
- มาฆะ -มะคะ, มะคา, มาคะ น. ดาวฤกษ์ที่ ๑๐ มี ๕ ดวง เห็นเป็นรูปโคมูตร วานร หรือ งอนไถ, ดาวโคมูตร ดาววานร ดาวงอนไถ หรือ ดาวงูผู้ ก็เรียก. (ป., ส.). ๑ -คะ- น. ชื่อเดือนที่ ๓ แห่งจันทรคติ ตกราวเดือนกุมภาพันธ์.
- มโหฆะ น. ห้วงน้ำใหญ่, ทะเลใหญ่; น้ำมาก, น้ำท่วมมาก. (ส., ป. มหา + โอฆ).
- โมฆะ โมคะ- ว. เปล่า, ว่าง; ไม่มีประโยชน์, ไม่มีผล, เช่น สัญญาเป็นโมฆะ; (กฎ) เสียเปล่า ไม่มีผลบังคับหรือผูกพันตามกฎหมาย. (ป., ส.).
- โอฆะ โอคะ- น. ห้วงน้ำ; ในพระพุทธศาสนาหมายถึงกิเลสที่ท่วมทับจิตใจของหมู่สัตว์ มี ๔ อย่าง คือ ๑. กาโมฆะ = โอฆะ คือ กาม ๒. ภโวฆะ = โอฆะ คือ ภพ ๓. ทิฏโฐฆะ = โอฆะ คือ ทิฐิ ๔. อวิชโชฆะ = โอฆะ คือ อวิชชา. (
- เป็นโมฆะ ใช้ไม่ได้ ไม่มีผลบังคับใช้ ไม่มีผลตามกฎหมาย ลบล้าง ไม่มีผล ทําให้ใช้ไม่ได้
- ความโมฆะ การใช้การไม่ได้ การไม่มีผลบังคับใช้
- ซึ่งเป็นโมฆะ ซึ่งถูกทําให้เสีย
- ทำให้โมฆะ ทำลายล้วง ทำให้ไร้ผล ยกเลิก เพิกถอน
- ที่เป็นโมฆะ ที่ไม่มีผลทางกฎหมาย