ปทัฏฐาน คือ
"ปทัฏฐาน" การใช้"ปทัฏฐาน" อังกฤษ
- น. แบบแผนสำหรับยึดถือเป็นแนวทางปฏิบัติ; เหตุที่ตั้งเป็นเครื่องถึง, เหตุอันใกล้ที่สุด; บรรทัดฐาน หรือ ปทัสถาน ก็ว่า. (ป.; ส. ปทสฺถาน).
- ฐาน ๑ ถาน น. ที่ตั้ง เช่น ฐานทัพ ฝีตั้งฐาน, ที่รองรับ เช่น ฐานพระพุทธรูป. ( ป. ). ๒ ถาน, ถานะ- น. ตำแหน่งหน้าที่; หลักฐาน,
- สมุฏฐาน สะหฺมุดถาน น. ที่เกิด, ที่ตั้ง, เหตุ, เช่น สมุฏฐานของโรค โรคนี้มีจิตเป็นสมุฏฐาน. (ป.).
- อธิฏฐาน อะทิดถาน ก. ตั้งใจมุ่งผลอย่างใดอย่างหนึ่ง, ตั้งจิตปรารถนา, ตั้งจิตขอร้องต่อสิ่งที่ตนถือว่าศักดิ์สิทธิ์เพื่อผลอย่างใดอย่างหนึ่ง, อธิษฐาน ก็ว่า. (ป.; ส. อธิษฺาน).
- กัมมัฏฐาน ดู กรรมฐาน.
- ทิฏฐานุคติ (แบบ) น. แบบอย่าง. (ป. ทิฏฺานุคติ ว่า ดำเนินตามสิ่งที่ปรากฏ).
- สติปัฏฐาน น. ชื่อธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งสติ ๔ อย่าง คือ กาย เวทนา จิต ธรรม. (ป.).
- อุปัฏฐานะ อุปัด-, อุบปัด- น. การบำรุง, การรับใช้. (ป.).
- โดยสมุฏฐาน โดยมูลฐาน
- อุปัฏฐาก อุปัดถาก, อุบปัดถาก น. ผู้อุปถัมภ์บำรุงพระภิกษุสามเณร, ถ้าเป็นหญิงใช้ อุปัฏฐายิกา. (ป.).
- รัฏฐาธิปัตย์ รัฏฐาธิปไตย
- รัฏฐาธิปไตย n. กระบวนการที่รวมหน้าที่ทางการปกครองและทางเศรษฐกิจของประเทศเข้าไว้ภายใต้การอำนวยการที่รวมเข้าเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันแต่ไม่จำเป็นจะต้องเป็นไปในแนวทางอัตตาธิปไตย ชื่อพ้อง: รัฏฐาธิปัตย์ ตั
- อนิฏฐารมณ์ อะนิดถารม น. อารมณ์หรือสิ่งที่ไม่น่าปรารถนาไม่น่าพอใจ ได้แก่ ความเสื่อมลาภ ความเสื่อมยศ นินทา ทุกข์, ตรงข้ามกับ อิฏฐารมณ์. (ป. อนิฏฺารมฺมณ).
- อิฏฐารมณ์ น. อารมณ์หรือสิ่งที่น่าปรารถนาน่าพอใจ ได้แก่ ลาภ ยศ สรรเสริญ สุข, ตรงข้ามกับ อนิฏฐารมณ์. (ป. อิฏฺารมฺมณ).
- อุฏฐาการ อุดถากาน ก. ลุกขึ้น. (ป.).
- อัฏฐบาน -บาน น. น้ำที่คั้นจากผลไม้ มี ๘ อย่าง คือ น้ำมะม่วง น้ำชมพู่หรือน้ำหว้า น้ำกล้วยมีเม็ด น้ำกล้วยไม่มีเม็ด น้ำมะซาง น้ำลูกจันทน์หรือน้ำองุ่น น้ำเหง้าอุบล น้ำมะปรางหรือน้ำลิ้นจี่, เขียนว่า อัฐบาน ก็มี.
ประโยค
- ปีแสงเป็นปทัฏฐานของจักรวาล