ประลมพ์ คือ
"ประลมพ์" อังกฤษ
ปฺระลม
น. กิ่งไม้เลื้อย, ช่อดอกไม้, พวงมาลัย.
ก. ห้อยย้อย. (ส. ปฺรลมฺพ).
- ปร ปะระ-, ปอระ- ว. อื่น, ใช้เป็นบทหน้าสมาส เช่น ปรปักษ์ ปรโลก. ( ป. ).
- ประ ปฺระ ใช้เติมหน้าคำอื่นเพื่อให้คำหนักแน่นขึ้น เช่น ชิด เป็น ประชิด, ท้วง เป็น ประท้วง; คำที่แผลงมาจาก ผ เช่น ผทม เป็น ประทม แล้วแผลง ประ เป็น บรร
- ระ ก. กระทบเรียดไป เช่น เอาไม้ระรั้วสังกะสี.
- ลม ๑ น. ธาตุอย่างหนึ่งในธาตุทั้ง ๔ ของร่างกาย คือ ดิน น้ำ ไฟ ลม, ถ้าลมในร่างกายแปรปรวนไม่ปรกติจะทำให้เกิดอาการต่าง ๆ ได้ เช่น เป็นลม; ลมหายใจ เช่น
- กระลุมพู น. นกลุมพู เช่น เหล่ากระลิงโกกิลา กระลุมพูก็โผผิน. (ม. ร่ายยาว มหาพน). (ดู ลุมพู).
- กระลัมพร น. โทษใหญ่, ความฉิบหาย, เช่น ก็ทำกระลัมพรกาล. (สมุทรโฆษ), (แผลงมาจาก กลัมพร), เขียนเป็น กระลำพร ก็มี.
- กระลุมพุก ๑ (ปาก) น. ไม้ตะลุมพุก. ๒ (กลอน) น. ปลาตะลุมพุก เช่น ค้าวอ้าวอุกกระลุมพุกสีเสียดสุกรสิง. (สรรพสิทธิ์). (ดู ตะลุมพุก ๒). ๓ ดู ตะลุมพุก ๓.
- ประลัย น. ความตาย, ความฉิบหาย, ความป่นปี้, ความย่อยยับไป. (ส. ปฺรลย; ป. ปลย).
- ประลึง (กลอน) ก. จับต้อง, ลูบคลำ.
- ประลุ ก. บรรลุ.
- ประลุง (กลอน) ก. ปลาบปลื้ม, ยินดี.
- กระลุมพาง น. กลองหน้าเดียว, โบราณเขียนเป็น กรลุมพาง ก็มี.
- ประตูลม น. เรียกอวัยวะส่วนที่อยู่ระหว่างนิ้วมือนิ้วเท้า.
- ประลอง ก. ทดสอบความรู้ความสามารถด้วยการต่อสู้หรือแข่งขันกัน เช่น ประลองฝีมือ ประลองกำลัง ประลองความเร็ว.
- ประลัยกัลป์ น. บรรลัยกัลป์.