ประเสบัน คือ
- น. ชื่อเพลงไทยทำนองหนึ่ง. (ช.)
- ปร ปะระ-, ปอระ- ว. อื่น, ใช้เป็นบทหน้าสมาส เช่น ปรปักษ์ ปรโลก. ( ป. ).
- ประ ปฺระ ใช้เติมหน้าคำอื่นเพื่อให้คำหนักแน่นขึ้น เช่น ชิด เป็น ประชิด, ท้วง เป็น ประท้วง; คำที่แผลงมาจาก ผ เช่น ผทม เป็น ประทม แล้วแผลง ประ เป็น บรร
- ระ ก. กระทบเรียดไป เช่น เอาไม้ระรั้วสังกะสี.
- เส ก. เฉ, ไถล, เช่น เสไปพูดเรื่องอื่น, เชือนแช เช่น เสความ.
- สบ ก. พบ, ปะ, เช่น สบโชค สบตา สบเหมาะ ฟันบนสบฟันล่าง, ถูก, ต้อง, เช่น สบใจ สบปาก สบอารมณ์. น. บริเวณที่แม่น้ำตั้งแต่ ๒ สายขึ้นไปมาบรรจบกัน เช่น
- สบัน สะ- ( แบบ ) ก. สาบาน. ( ป. สปน).
- บัน ๑ น. จั่ว (หน้าจั่วของปราสาท โบสถ์ วิหาร เรียกว่า หน้าบัน). ๒ ก. ผัน, ผิน. ๓ ก. เบา, น้อย, เช่น มัวเมาไม่บัน. ( ดึกดำบรรพ์ ).
- ประเสบันอากง ๑ น. ชื่อเพลงไทยทำนองหนึ่ง. (ช.) ๒ น. วังลูกหลวง, วังหลานหลวง. (ช.).
- ประสบ ก. พบ, พบปะ, พบเห็น.
- ประเด็น น. ข้อความสำคัญของเรื่องที่แยกหยิบยกขึ้นพิจารณา; (กฎ) ข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมายอันเป็นสาระสำคัญที่คู่ความยกขึ้นเป็นข้ออ้างในคดี.
- ประเมิน ก. กะประมาณค่าหรือราคาเท่าที่ควรจะเป็น เช่น ประเมินราคา.
- ประเสริฐ ปฺระเสิด ว. วิเศษ, ดีเลิศ, ดีที่สุด.
- น่าสบประมาท น่าละอายใจ สามหาว
- ประสบการณ์นิยม ปฺระสบกาน- น. ลัทธิทางปรัชญาที่ถือว่าประสบการณ์เป็นบ่อเกิดของความรู้ทุกอย่าง; การปฏิบัติที่เน้นประสบการณ์; การแสวงหาความรู้โดยอาศัยการสังเกต การทดลอง และวิธีอุปนัย, ประจักษนิยม ก็ว่า. (อ. empiricism
- ประสบพบเห็น ประสบ พบเห็น