ปรางค์ปรา คือ
สัทอักษรสากล: [prāng prā] การออกเสียง:
"ปรางค์ปรา" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
ปฺรางปฺรา
(กลอน) ตัดมาจาก ปรางค์ปราสาท.
- ปร ปะระ-, ปอระ- ว. อื่น, ใช้เป็นบทหน้าสมาส เช่น ปรปักษ์ ปรโลก. ( ป. ).
- ปราง ปฺราง น. แก้ม; มะปราง.
- ปรางค์ ปฺราง น. สิ่งก่อสร้างมียอดสูงขึ้นไปมีรูปทรงคล้ายฝักข้าวโพดและมีฝักเพกาปักอยู่ข้างบน, ถ้าเป็นเจดีย์มียอดเช่นนั้น เรียกว่า เจดีย์ยอดปรางค์.
- รา ๑ น. ไม้ที่กระหนาบอยู่ใต้ท้องพรึงรับพื้นเรือนเพื่อไม่ให้พื้นอ่อน อยู่ระหว่างรอด; ไม้จีมเสาที่ปากหลุมซึ่งยังไม่ได้กลบดินเพื่อกันไม่ให้โอนเอน
- ราง ๑ น. ร่องที่ขุดเป็นทางสำหรับให้น้ำไหล; สิ่งสำหรับรองน้ำฝนที่ชายคาเป็นต้น มักทำด้วยสังกะสียาวเป็นแนวไปตามชายคา; ไม้ที่ขุดหรือต่อให้เป็นร่องยาว ๆ
- ปรางคณะ ปฺรางคะนะ น. คณะ, สำนัก; สนาม; พื้นอย่างพื้นเรือน. (ส.).
- พระปรางค์ n. ปราสาทที่มียอดสูงขึ้นไป มีฝักเพกาแยกเป็นกิ่งๆ อยู่ข้างบน ตัวอย่างการใช้: พระปรางค์วัดอรุณ เป็นสถาปัตยกรรมที่งดงามแห่งหนึ่งในประเทศไทย clf.: องค์
- มะปราง -ปฺราง น. ชื่อไม้ต้นชนิด Bouea macrophylla Griff. ในวงศ์ Anacardiaceae ใบคล้ายใบมะม่วงแต่เล็กกว่า ปลายใบแหลม ผลสุกสีเหลืองอมแดง พันธุ์รสเปรี้ยวจัดเรียก กาวาง, พันธุ์รสเปรี้ยว ๆ หวาน ๆ เรียก มะยง, พั
- ปรัมปรา ปะรำปะรา ว. สืบ ๆ กันมา, เก่าก่อน. (ป., ส.).
- การปราชัยอย่างคาดไม่ถึง การพ่ายแพ้
- ปรารถนาอย่างควบคุมไม่ได้ กระหาย อยากได้อย่างมาก
- สร้างคล้ายปราสาท มีหลายปราสาท
- พระปราง แก้ม
- เปราะบาง 1) v. หักง่าย, แตกง่าย ชื่อพ้อง: บอบบาง, เปราะ คำตรงข้าม: แข็งแรง, หนา ตัวอย่างการใช้: แก้วเจียระนัยพวกนี้เปราะบางมาก ถือขึ้นเครื่องบินไปด้วยดีกว่า 2) adj. ที่หักง่าย, ที่แตกง่า
- ปรากฎในรูปร่าง ทำให้เป็นรูปร่างขึ้น สิ่งอยู่ในตัว