ปราชญา คือ
"ปราชญา" การใช้"ปราชญา" อังกฤษ
ปฺราดยา
น. ปัญญา. (ส. ปฺรชฺา; ป. ปญฺา).
- ปร ปะระ-, ปอระ- ว. อื่น, ใช้เป็นบทหน้าสมาส เช่น ปรปักษ์ ปรโลก. ( ป. ).
- ปราชญ นักปราชญ์ ผู้มีปัญญา ผู้รู้
- รา ๑ น. ไม้ที่กระหนาบอยู่ใต้ท้องพรึงรับพื้นเรือนเพื่อไม่ให้พื้นอ่อน อยู่ระหว่างรอด; ไม้จีมเสาที่ปากหลุมซึ่งยังไม่ได้กลบดินเพื่อกันไม่ให้โอนเอน
- ราช ๑ ราด, ราดชะ- น. พระเจ้าแผ่นดิน, พญา (ใช้แก่สัตว์) เช่น นาคราช คือ พญานาค สีหราช คือ พญาราชสีห์, คำนี้มักใช้ประกอบกับคำอื่น,
- ปราชญ์ ปฺราด น. ผู้มีปัญญารอบรู้. (ส. ปฺราชฺ).
- อาชญา อาดยา, อาดชะยา น. อำนาจ; โทษ (มักใช้สำหรับพระเจ้าแผ่นดินหรือเจ้านาย) เช่น พระราชอาชญา. (ส.; ป. อาณา); (กฎ; โบ; เลิก) คดีที่เกี่ยวกับโทษหลวง เรียกว่า คดีอาชญา หรือ ความอาชญา, คู่กับ ความแพ่ง ซึ่งไม่เ
- นักปราชญ์ น. ผู้รู้, ผู้มีปัญญา.
- เชิงปราชญ์ ชอบสั่งสอน เชิงเทศนา เต็มไปด้วยคติพจน์ เต็มไปด้วยสุภาษิต เล่นสำนวน
- (ปรัชญา) เป็นคำที่ใช้ในปรัชญา
- ปรัชญา ปฺรัดยา, ปฺรัดชะยา น. วิชาว่าด้วยหลักแห่งความรู้และความจริง. (ส.).
- ปรีชญา ปฺรีดยา (แบบ) น. ปรีชา เช่น อันประกอบด้วยจักษุคือปรีชญา. (นันโท). (ส. ปริชฺา).
- อภิปรัชญา อะพิปฺรัดยา, อะพิปฺรัดชะยา น. ปรัชญาสาขาหนึ่ง ว่าด้วยความแท้จริง ซึ่งเป็นเนื้อหาสำคัญของปรัชญา. (อ. metaphysics).
- ราชญี ราดยี (แบบ) น. ราชินี. (ส.).
- จอมนักปราชญ์ พระพุทธเจ้า มุนินทร์
- นักปรัชญา n. ผู้รู้, ผู้มีปัญญา ตัวอย่างการใช้: นักปรัชญาหลายคนเชื่อว่าความฉลาดของมนุษย์เป็นสิ่งยากที่คอมพิวเตอร์จะเลียนแบบได้
ประโยค
- ปราชญาของเยอรมันน่ะง่าย ขำขันน่ะยากกว่าอีก
- แผนกปราชญามาร์กซ์และเลนิน