ปฤษฐ คือ
ปฺริดสะถะ
น. หลัง, เบื้องหลัง; พื้นบน; ยอด. (ส.; ป. ปิฏฺ).
- ปฤษฎ์ ปฺริด น. หลัง, เบื้องหลัง. (ส. ปฺฤษฺ; ป. ปิฏฺ).
- ปฤษฎางค์ ปฺริดสะดาง น. อวัยวะเบื้องหลัง, ส่วนหลัง, ราชาศัพท์ใช้ว่า พระปฤษฎางค์, พระขนอง ก็ว่า.
- ฤษี รึ- น. ฤๅษี, นักบวชพวกหนึ่ง มีมาก่อนพุทธกาล สละบ้านเรือนออกไปบำเพ็ญพรตแสวงหาความสงบ. (ส. ฤษี ว่า ผู้เห็น, ผู้แต่งพระเวท; ป. อิสิ).
- ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์
- ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ ตัวคูณ กฎเศรษฐกิจ ทฤษฎีการพัฒนา ทฤษฎีการเจริญเติบโต ทฤษฎีการเช่าที่ ทฤษฎีความสมดุล ทฤษฎีทําเลที่ตั้ง ทฤษฎีมูลค่า มหาวิทยาลัยเศรษฐศาสตร์ ลัทธิเศรษฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์แบบเคนส์ ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์
- ธูปฤาษี กกช้าง กกธูป ปรือ เฟื้อ
- ธูปฤๅษี ดู กกช้าง.
- ปฤงคพ ปฺริงคบ (กลอน) น. ปุงคพ, โคผู้, หมายความว่า ผู้เลิศ, ผู้ประเสริฐ, หัวหน้า. (ป., ส. ปุงฺคว).
- ปฤจฉา ปฺริด- น. คำถาม. (ส.; ป. ปุจฺฉา).
- สมปฤดี สมปฺระ-, สมปะรึ-, สมปะรือ- น. ความรู้สึกตัว, มักใช้เข้าคู่กับคำ สติ เป็น สติสมประดี เช่น ไม่ได้สติสมประดี. (ส. สฺมฺฤติ; ป. สติ).
- สมปฤาดี สมประดี สมปฤดี
- สมปฤๅดี สมปฺระ-, สมปะรึ-, สมปะรือ- น. ความรู้สึกตัว, มักใช้เข้าคู่กับคำ สติ เป็น สติสมประดี เช่น ไม่ได้สติสมประดี. (ส. สฺมฺฤติ; ป. สติ).
- ปฤจฉาคุณศัพท์ (ไว) น. คำคุณศัพท์ที่เป็นคำถาม เช่นคำ “อะไร” ฯลฯ.
- ฤษภ รึสบ น. วัวตัวผู้. (ส.; ป. อุสภ).
- ทฤษฎีที่ว่ารัฐบาลควรเข้ายุ่งเกี่ยวในเรื่องเศรษฐกิจให้น้อยที่สุด ทฤษฎีการไม่ยุ่งเรื่องของผู้อื่น