ปัจฉิมวาจา คือ
สัทอักษรสากล: [pat chim ma wā jā] การออกเสียง:
"ปัจฉิมวาจา" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
ปัดฉิมมะ-
น. วาจาครั้งสุดท้าย. (ป.).
- ปัจฉิม ปัดฉิม, ปัดฉิมมะ- ว. ตะวันตก; ภายหลัง, ทีหลัง, ข้างหลังสุด. ( ป. ปจฺฉิม).
- วา ๑ น. มาตราวัดตามวิธีประเพณี เท่ากับ ๔ ศอก มีอัตราเท่ากับ ๒ เมตร, อักษรย่อว่า ว. ก. กิริยาที่กางแขนเหยียดตรงออกทั้ง ๒ ข้าง. ๒ น.
- วาจา น. ถ้อยคำ, คำกล่าว, คำพูด, เช่น วาจาสุภาพ วาจาอ่อนหวาน วาจาสัตย์. ( ป. , ส. ).
- จา ( ถิ่น-พายัพ, อีสาน ) ก. พูด, กล่าว.
- มิจฉาวาจา น. “การเจรจาถ้อยคำผิด” คือ ประพฤติวจีทุจริต. (ป.).
- ปัจฉิมวัย ปัดฉิมมะ- น. วัยตอนปลาย, วัยชรา. (ป.).
- กรรมวาจา กำมะ- น. คำประกาศกิจการในท่ามกลางสงฆ์. (ส. กรฺม + วาจา = คำ; ป. กมฺม + วาจา).
- กรรมวาจาจารย์ กำมะวาจาจาน น. อาจารย์ผู้ให้สำเร็จกรรมวาจา คือ คู่สวด. (ส. กรฺมวาจา + อาจารฺย = อาจารย์).
- มิจฉาจาร น. การประพฤติผิด. (ป. มิจฺฉา + อาจาร).
- ปฏิปุจฉาวาที น. ผู้จำแนกธรรมหรือพยากรณ์ปัญหาธรรมด้วยวิธีย้อนถาม. (ป.).
- กาเมสุมิจฉาจาร -มิดฉาจาน น. การประพฤติผิดในประเวณี. (ป.).
- วาจาล (แบบ) ว. ช่างพูด. (ป., ส.).
- กรรมวาจก กำมะ- (ไว) ก. กริยาที่บอกว่าประธานเป็นกรรมการกหรือผู้ถูกทำ, กริยาของประโยคที่แสดงว่าประธานทำหน้าที่เป็นกรรมการก คือ ผู้ถูกทำ, กริยาของประโยคกรรมวาจกต้องใช้สกรรมกริยา คือ กริยาที่ต้องมีกรรมรับ บางทีก
- ผรุสวาจา -, ผะรุสะวาด, ผะรุดสะวาด น. คำหยาบ. (ป.).
- ผิดวาจา ว. ไม่รักษาคำพูด, ผิดคำพูด ก็ว่า.