ปิฏฐะ คือ
ปิดถะ
(แบบ) น. แป้ง. (ป.).
- ทิฏฐะ ทิดถะ- (แบบ) ว. อันบุคคลเห็นแล้ว, ทันตาเห็น. (ป. ทิฏฺ; ส. ทฺฤษฺฏ).
- มัฏฐะ ว. เกลี้ยง. (ป. มฏฺ; ส. มฺฤษฺฏ).
- ยิฏฐะ ยิดถะ น. การบูชา, การเซ่นสรวง. (ป. ยิฏฺ; ส. อิษฺฏ).
- หัฏฐะ ๑ หัดถะ ว. ร่าเริง, ยินดี, สบายใจ. (ป.; ส. หฺฤษฺฏ). ๒ หัดสะตะ, หัดถะ น. ดาวฤกษ์ที่ ๑๓ มี ๕ ดวง เห็นเป็น รูปฝ่ามือหรือเหนียงสัตว์, ดาวศอกคู้ หรือ ดาวศีรษะช้าง ก็เรียก.
- อัฏฐะ อัดถะ- (แบบ) ว. แปด. (ป.).
- ปีฐะ -ถะกะ น. ตั่ง, ที่นั่ง, เก้าอี้, ม้า. (ป., ส.).
- มัญเชฏฐะ ๑ ว. สีฝาง, สีแสดแก่. (ป.; ส. มญฺชิษฺ). ๒ น. ฝาง. (ป., ส. มญฺชิษฺา).
- สติปัฏฐาน น. ชื่อธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งสติ ๔ อย่าง คือ กาย เวทนา จิต ธรรม. (ป.).
- อุปัฏฐาก อุปัดถาก, อุบปัดถาก น. ผู้อุปถัมภ์บำรุงพระภิกษุสามเณร, ถ้าเป็นหญิงใช้ อุปัฏฐายิกา. (ป.).
- รัฏฐาธิปัตย์ รัฏฐาธิปไตย
- อุปัฏฐานะ อุปัด-, อุบปัด- น. การบำรุง, การรับใช้. (ป.).
- ยิฐะ ยิดถะ น. การบูชา, การเซ่นสรวง. (ป. ยิฏฺ; ส. อิษฺฏ).
- ศฐะ สะ- น. คนโกง, คนล่อลวง; คนโอ้อวด. (ส.; ป. ส).
- สฐะ (แบบ) ว. โกง, ล่อลวง; โอ้อวด. (ป.).
- อัฏฐ อัดถะ- (แบบ) ว. แปด. (ป.).