ปิหลั่น คือ
-หฺลั่น
น. ค่ายที่ทำให้ขยับรุกเข้าไปหาข้าศึกทีละน้อย ๆ, วิหลั่น ก็ว่า.
- หลั่น ว. สูงต่ำหรือก่อนหลังกันเป็นลำดับ, มักใช้เข้าคู่กับคำ ลด เป็น ลดหลั่น. ก. อาการที่ควั่นปลายเสาให้เหลือเป็นเดือยสำหรับรับขื่อ เรียกว่า
- ลั่น ก. มีเสียงดัง เช่น ฟ้าลั่น ไม้ลั่น กระดานลั่น, ทำให้มีเสียงดังหรือทำให้เกิดเสียงดัง เช่น ลงบันได บันไดลั่น บิดตัวจนกระดูกลั่น; ยิง เช่น ลั่นธนู
- ยักษ์ปักหลั่น -ปัก- (สำ) น. ผู้มีรูปร่างใหญ่โต.
- ปิติยินดีเหลือล้น กระตือรือร้นเกินไป ซึ่งดีใจอย่างเหลือล้น ซึ่งปลาบปลื้มอย่างเหลือล้น ปลาบปลื้มอย่างหลงใหล ปีติยินดีอย่างมาก ปีติยินดีอย่างเหลือล้น ลิงโลดอย่างหลงใหล ลืมตัว ใจจดใจจ่อ ใช้ถ้อยคำที่หรูหราและฟุ่มเฟือย
- ปักหลัก ๑ ก. ตั้งมั่นอยู่กับที่ไม่ยอมถอยหรือไม่ยอมโยกย้าย ในคำว่า ปักหลักสู้ ปักหลักอยู่. ๒ น. (๑) ชื่อนกกระเต็นชนิด Ceryle rudis ในวงศ์ Alcedinidae ตัวสีขาวลายดำ ปากหนาแหลมตรงสีดำ มักเกาะตามหัวเสาหรือตอไม้
- ปัตหล่า ปัดตะหฺล่า น. ผ้าริ้วทอด้วยไหมกับทองแล่งมีเนื้อบาง โดยมากทำเป็นเสื้อครุย.
- ปีกหลัง ปีก วิงแบ็ก
- ปูมหลัง n. ความเป็นมาแต่เดิมในอดีต ชื่อพ้อง: ภูมิหลัง, พื้นเพ ตัวอย่างการใช้: แนวคิดของแต่ละคนล้วนแตกต่างกัน ด้วยการที่มีปูมหลังและประสบการณ์ที่แตกต่างกัน
- หล่อรูป ปั้นรูป แกะ
- ไหล่ทวีป น. บริเวณใต้น้ำทะเลรอบ ๆ ทวีป ซึ่งมีความลาดเอียงน้อย ๆ แผ่ยื่นออกไปจากฝั่งทะเล นับจากแนวน้ำลงต่ำสุดลงไป.
- ปัน ก. แบ่ง เช่น ปันเป็นส่วน ๆ, แบ่งซื้อ ในคำว่า ขอปัน, แบ่งขาย ในคำว่า ปันให้.
- ปั่น ก. ทำให้หมุน, ทำให้เวียน, เช่น ปั่นแปะ ปั่นโป; หมุน เช่น หัวปั่น.
- ปั้น ๑ ก. เอาสิ่งอ่อน ๆ เช่นขี้ผึ้งดินเหนียวเป็นต้นมาทำให้เป็นรูปตามที่ต้องการ เช่น ปั้นข้าวเหนียว ปั้นตุ๊กตา; สร้างขึ้น, เสกสรรขึ้น, เช่น ปั้นพยาน ปั้นเรื่อง; ชุบเลี้ยงและอบรมสั่งสอนให้เป็นคนดี เช่น ฉัน
- ปิ่น น. เครื่องประดับสำหรับปักผมที่มุ่นเป็นจุก; จอม, ยอด, เช่น ปิ่นพิภพ.
- ปีน ๑ ก. ไต่โดยใช้มือและเท้าเกาะยึดขึ้นไป เช่น ปีนต้นไม้ ปีนเขา, ใช้ในอาการที่ไต่ลงก็มี เช่น ปีนลงทางหน้าต่าง; โดยปริยายหมายความว่า ออกนอกที่นอกทาง เช่น ปีนทาง. ๒ น. ชื่อเพลงที่ขึ้นต้นด้วยคำ ปีน เช่น ปี