ปุจฉา คือ
สัทอักษรสากล: [put chā] การออกเสียง:
"ปุจฉา" การใช้"ปุจฉา" อังกฤษ"ปุจฉา" จีน
ความหมายมือถือ
ปุดฉา
ก. ถาม เช่น ขอปุจฉาพระคุณเจ้า. (ป.).
- ปุ ๑ ว. เสียงดังเช่นนั้น. ๒ ก. ปะ เช่น เอาไม้ไปปุฝาเรือน.
- ปัจฉา (แบบ) ว. ภายหลัง, เบื้องหลัง, ข้างหลัง. (ป.).
- ปิตุจฉา -ตุด- น. อา (ผู้หญิง), ป้า (ญาติฝ่ายพ่อ). (ป.).
- ปัจฉาภัต น. เวลาภายหลังบริโภคอาหาร คือ ตั้งแต่เที่ยงแล้วไป. (ป.).
- ปฏิปุจฉาวาที น. ผู้จำแนกธรรมหรือพยากรณ์ปัญหาธรรมด้วยวิธีย้อนถาม. (ป.).
- ปัจฉาสมณะ น. สมณะผู้ตามหลัง คือ พระผู้น้อยมีหน้าที่เดินตามหลังพระผู้ใหญ่. (ป.).
- ปุจฉาวิสัชนา วิธีการสอนแบบคำถามคำตอบ
- ปฏิปุจฉาพยากรณ์ น. การจำแนกธรรมหรือพยากรณ์ปัญหาธรรมด้วยวิธีย้อนถาม. (ป.).
- กัจฉา กัดฉา (แบบ) น. สายรัดท้องช้าง. (ป.; ส. กกฺษา, กกฺษฺยา).
- ขี้อิจฉา adj. ที่ไม่อยากให้คนอื่นได้ดี, นิสัยที่เห็นเขาได้ดีแล้วทนอยู่ไม่ได้ ชื่อพ้อง: ริษยา, อิจฉาตาร้อน ตัวอย่างการใช้: ดาราที่แสดงเป็นคนขี้อิจฉาแสดงได้ถึงบทถึงบาท จนผู้ชมคิดว่าเป็นเรื่องจริง
- ตัวอิจฉา n. ตัวละครหรือตัวแสดงที่รับบทบาทเป็นผู้มีนิสัยที่เห็นคนอื่นได้ดีแล้วทนดูอยู่ไม่ได้ ชื่อพ้อง: ตัวร้าย, ตัวริษยา ตัวอย่างการใช้: ละครเรื่องนี้มีตัวอิจฉา 2 ตัว ตบกันตลอดทั้งเรื่อง
- น่าอิจฉา น่าริษยา เป็นที่ต้องการ เป็นที่อิจฉา
- บิตุจฉา -ตุดฉา (แบบ) น. อา (ผู้หญิง), ป้า (ญาติฝ่ายพ่อ). (ป. ปิตุจฺฉา).
- ปฤจฉา ปฺริด- น. คำถาม. (ส.; ป. ปุจฺฉา).
- มฤจฉา มะริดฉา ว. มิจฉา, ผิด. (ป. มิจฺฉา; ส. มิถฺยา).