ผัสส- คือ
- น. การกระทบ, การถูกต้อง, เช่น ผัสสะทางกาย ผัสสะทางใจ, การที่ตา หู จมูก ลิ้น และกาย กระทบกับรูป เสียง กลิ่น รส และสิ่งที่รับรู้ได้ทางกาย เช่น ความสุขทางผัสสะ. (ป.).
- ผัสส น. การกระทบ, การถูกต้อง, เช่น ผัสสะทางกาย ผัสสะทางใจ, การที่ตา หู จมูก ลิ้น และกาย กระทบกับรูป เสียง กลิ่น รส และสิ่งที่รับรู้ได้ทางกาย เช่น
- ผัสสะ น. การกระทบ, การถูกต้อง, เช่น ผัสสะทางกาย ผัสสะทางใจ, การที่ตา หู จมูก ลิ้น และกาย กระทบกับรูป เสียง กลิ่น รส และสิ่งที่รับรู้ได้ทางกาย เช่น ความสุขทางผัสสะ. (ป.).
- ผัสสาหาร น. อาหารคือผัสสะ หมายเอาการประจวบกันแห่งอายตนะภายใน อายตนะภายนอก และวิญญาณ เป็นปัจจัยแห่งเจตสิกอันจะพึงเกิดโดยวิถีมีเวทนาเป็นต้น เป็นประการหนึ่งในอาหารทั้ง ๔ (อีก ๓ อย่าง คือ กวลิงการาหาร อาหารคือคำ
- ผู้อาวุโสสูงสุด ผู้เฒ่าที่นับถือ
- มัสสุ น. หนวด, ราชาศัพท์ใช้ว่า พระมัสสุ. (ป.).
- สสช. สํานักงานสถิติแห่งชาติ
- สสุระ สะ- น. พ่อตา, พ่อผัว. (ป.; ส. ศฺวศุร).
- สสุรี สะ-, สัดสุ- น. แม่ยาย, แม่ผัว. (ป.; ส. ศฺวศฺรู).
- สัสสุ สัด- น. แม่ยาย, แม่ผัว. (ป.; ส. ศฺวศฺรู).
- สัสสู สัด- น. แม่ยาย, แม่ผัว. (ป.; ส. ศฺวศฺรู).
- อัสสุ น. น้ำตา. (ป.).
- ฮัสส์ ฮัส เจน ฮัส จอห์น ฮัสส์
- รัสสสระ รัสสระ รัสสะ
- ดร.ซูสส์ ธีโอดอร์ ซูสส์ จีเซล
- ตรัสสา ตฺรัดสา น. คำยกย่องเรียกเจ้านายฝ่ายในชั้นเจ้าฟ้า. (พระราชวิจารณ์).