พณ คือ
"พณ" การใช้"พณ" อังกฤษ
พะนะท่าน
น. คำนำหน้าชื่อหรือตำแหน่งข้าราชการผู้ใหญ่ชั้นรัฐมนตรี เอกอัครราชทูต เป็นต้น. (ย่อมาจากคำ พณหัว พณหัวเจ้า พณหัวเจ้าท่าน).
- พณ.บ. พาณิชยศาสตรบัณฑิต
- พณิช พะนิด น. ผู้ค้าขาย, พ่อค้า. (ป., ส. วาณิช).
- พณิชย์ พะ- น. การค้าขาย. (ส. วณิชฺยา, วาณิชฺย; ป. วาณิชฺช).
- เพณี น. เวณิ, ผมซึ่งเกล้าไว้, สายที่ถัก เช่น อันว่าสร้อยสังวาลเพณี. (ม. คำหลวง ทศพร). (ป., ส. เวณิ).
- ราพณ์ ราบ น. ชื่อเรียกทศกัณฐ์; ยักษ์. (ส. ราวณ).
- ฯพณฯ พะนะท่าน น. คำนำหน้าชื่อหรือตำแหน่งข้าราชการผู้ใหญ่ชั้นรัฐมนตรี เอกอัครราชทูต เป็นต้น. (ย่อมาจากคำ พณหัว พณหัวเจ้า พณหัวเจ้าท่าน).
- ประเพณี น. สิ่งที่นิยมถือประพฤติปฏิบัติสืบ ๆ กันมาจนเป็นแบบแผน ขนบธรรมเนียม หรือจารีตประเพณี. (ส. ปฺรเวณิ; ป. ปเวณิ).
- กฎประเพณี ข้อควรประพฤติ
- ท้าวราพณะ ทศกัณฐ์ ทศกัณธร ทศครีพ ทศพักตร์ ทศมุข ทศเศียร
- ประเพณีนิยม น. ประเพณีของสังคมที่ถือปฏิบัติสืบทอดกันมา.
- พณหัวเจ้าท่าน ฯพณฯ
- ราพณาสูร ๑ ราบพะนาสูน (กลอน) น. ยักษ์. (ส. ราวณ + อสุร). ๒ ราบพะนาสูน (ปาก) ว. สูญเรียบ, สูญเสียจนหมดเกลี้ยง.
- อาถรรพณะ -ถัน, -ถัน, -ถับพะนะ น. สิ่งสืบเนื่องจากคัมภีร์อถรรพเวท, การทำพิธีตามตำราไสยศาสตร์เพื่อให้เกิดสิริมงคลป้องกันภยันตราย หรือทำอันตรายผู้อื่น เช่น ทำพิธีฝังเสาหินหรือฝังบัตรพลี ซึ่งเรียกว่า ฝังอาถรรพ์;
- อาถรรพณ์ -ถัน, -ถัน, -ถับพะนะ น. สิ่งสืบเนื่องจากคัมภีร์อถรรพเวท, การทำพิธีตามตำราไสยศาสตร์เพื่อให้เกิดสิริมงคลป้องกันภยันตราย หรือทำอันตรายผู้อื่น เช่น ทำพิธีฝังเสาหินหรือฝังบัตรพลี ซึ่งเรียกว่า ฝังอาถรรพ์;
- เป็นประเพณิ เป็นวาจา ไม่ใช่ลายลักษณ์อักษร ไม่ได้เขียนลง
ประโยค
- ผมทำได้แค่ส่งภาพนี้ให้ฯพณฯประธานาธิบดีเท่านั้น
- พิธีกรรมและธรรมเนียมประเพณีกำหนดชีวิตของพวกเรา
- แม้ว่าการแต่งงานตามประเพณีไม่เป็นชะตากรรมของแน
- เรารู้ดีว่ามันเป็นการผิดต่อขนบธรรมเนียมประเพณี
- แต่ว่าเคยได้ยินชื่อเสียง ของประเพณีชาวไอร์แลนด์
- นี่เป็นประเพณีอย่างหนึ่งใน การแต่งงานแบบอินเดีย
- คิดว่าฉันที่เจ๋ง ดังนั้นฉันต้องการเก็บในประเพณี
- รู้สึกเหมือนเธอต้องทิ้ง ประเพณีของเธอในบรู๊คลิน
- มันเป็นประเพณีของวัง นักแสดงหญิงจะเลือกอย่างนี้
- เพราะเขาเป็นฝ่ายธรรมะ เขาจะกำจัดราพณาสูร แล้วก็
- ตัวอย่างการใช้เพิ่มเติม: 1 2 3 4 5