พิเราะ คือ
- ว. ไพเราะ, เพราะ, เสนาะ. (ข. พีเราะ).
- เรา ก. เคาะหรือต่อยริมออกทีละน้อยเพื่อให้ได้รูปตามต้องการ เช่น เอาไม้เราะตาตุ่ม เวลาเดินลงส้น เราะกระเบื้อง เราะปากขวด, กะเทาะให้แตกออกจากกัน เช่น
- เราะ ๑ น. ไม้ไผ่เป็นต้นเหลาเป็นซี่กลม ๆ ถักให้ติดกันเป็นผืน สำหรับล้อมปลา. ๒ ก. เคาะหรือต่อยริมออกทีละน้อยเพื่อให้ได้รูปตามต้องการ เช่น
- รา ๑ น. ไม้ที่กระหนาบอยู่ใต้ท้องพรึงรับพื้นเรือนเพื่อไม่ให้พื้นอ่อน อยู่ระหว่างรอด; ไม้จีมเสาที่ปากหลุมซึ่งยังไม่ได้กลบดินเพื่อกันไม่ให้โอนเอน
- พูดจาไพเราะ ปากหวาน พูดจาน่าฟัง
- พูดได้ไพเราะ พูดดี พูดได้เหมาะสม
- ชำเราะ น. ซอก, หลืบ, เช่น ชำเราะชระลองดอมไพร. (สมุทรโฆษ). ก. เซาะ.
- หวัวเราะ ดู หัว ๑.
- หัวเราะ ก. เปล่งเสียงแสดงความขบขัน ดีใจ ชอบใจ เป็นต้น, ใช้เข้าคู่กับคำ หัวไห้ เป็น หัวเราะหัวไห้ ก็มี, หัวร่อ ก็ว่า, (โบ) เขียนเป็น หวัวเราะ ก็มี.
- เราะร้าย ก. พูดมากหยาบคาย, พูดไม่เพราะ.
- ไพเราะ ว. เพราะ, เสนาะ, น่าฟัง. (แผลงมาจาก พิเราะ).
- เราะราย ว. ชอบพูดจาชวนหาเรื่องไม่เลือกหน้า, มักพูดชวนทะเลาะทั่วไป เช่น พูดจาเราะราย ปากเปราะเราะราย ปากคอเราะราย.
- พิเคราะห์ ก. ใคร่ครวญ, ไตร่ตรอง, พิจารณาอย่างถี่ถ้วนรอบคอบ. (ส. วิคฺรห; ป. วิคฺคห).
- การหัวเราะ n. การเปล่งเสียงแสดงความขบขัน ดีใจ ชอบใจ เป็นต้น, ใช้เข้าคู่กับ คำ หัวไห้ เป็น หัวเราะหัวไห้ ก็มี, หัวร่อ ก็ว่า, (โบ) เขียนเป็น หวัวเราะ ก็มี ตัวอย่างการใช้: การหัวเราะเป็นพฤติกรรมเพื่อล
- ก๊าซหัวเราะ แก๊สหัวเราะ
- คําไพเราะ คําหวาน