เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

ภวนะ คือ

การออกเสียง:
ความหมายมือถือ
  • พะวะ-
    น. เรือนขนาดใหญ่. (ส.).
  • ภว     พะวะ- น. ความเกิด, ความมี, ความเป็น; ภพ. ( ป. , ส. ).
  • วน     วะนะ- น. ป่าไม้, ดง. ( ป. ; ส. วนสฺ ว่า ป่า; น้ำ). ๑ ก. เวียนไปโดยรอบ เช่น ขับรถวนรอบสนาม, ไปโดยรอบเข้าหาศูนย์กลางหรือออกจากศูนย์กลาง เช่น
  • นะ     ๑ ว. คำประกอบท้ายคำอื่น บอกความเป็นเชิงอ้อนวอน บังคับตกลง หรือเน้นให้หนักแน่น เป็นต้น เช่น อยู่นะ ไปละนะ. ๒ น.
  • ภว-    พะวะ- น. ความเกิด, ความมี, ความเป็น; ภพ. (ป., ส.).
  • ปฏิชีวนะ    -ชีวะนะ น. เรียกยาประเภทที่มีสารที่สกัดจากผลผลิตของเชื้อจุลินทรีย์ ใช้ฆ่าหรือยับยั้งการแพร่พันธุ์ของแบคทีเรีย ว่า ยาปฏิชีวนะ. (อ. antibiotics).
  • ลวนะ    น. การตัด, การเกี่ยว. (ป., ส.).
  • สวนะ    ๑ สะวะนะ- น. การฟัง. (ป.; ส. ศฺรวณ). ๒ น. การไหลไป. (ป.; ส. สฺรวณ).
  • สาวนะ    ๑ สาวะนะ, สะระวะนะ น. ดาวฤกษ์ที่ ๒๒ มี ๓ ดวง เห็นเป็นรูปหามผีหรือโลง, ดาวหลักชัย หรือ ดาวพระฤๅษี ก็เรียก. ๒ สาวะนะ น. เดือน ๙. (ป.; ส. ศฺราวณ).
  • เทวนะ    เทวะ- (แบบ) น. การเล่น, การเล่นสกา, การกรีฑา. (ป., ส.).
  • เสวนะ    เสวะ- ก. คบ เช่น ควรเสวนากับบัณฑิต ไม่ควรเสวนากับคนพาล, (ปาก) พูดจากัน เช่น หมู่นี้พวกเราไม่ค่อยได้พบปะเสวนากันเลย. น. การสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน เช่น กลุ่มวรรณกรรมจัดเสวนาเรื่องสุนทรภู่. (ป.)
  • โธวนะ    โทวะนะ (แบบ) น. การชำระล้าง, การซักฟอก. (ป.; ส. ธาวน).
  • ภวะ    พะวะ- น. ความเกิด, ความมี, ความเป็น; ภพ. (ป., ส.).
  • ภวังค    พะวังคะ- น. ส่วนที่สืบต่อระหว่างปฏิสนธิกับจุติ มิได้เสวยอารมณ์ในทวารทั้ง ๖ มีจักษุทวารเป็นต้น. (ป.); ความเป็นอยู่โดยไม่รู้สึกตัว.
  • ภวังค-    พะวังคะ- น. ส่วนที่สืบต่อระหว่างปฏิสนธิกับจุติ มิได้เสวยอารมณ์ในทวารทั้ง ๖ มีจักษุทวารเป็นต้น. (ป.); ความเป็นอยู่โดยไม่รู้สึกตัว.
  • ภวังค์    พะวังคะ- น. ส่วนที่สืบต่อระหว่างปฏิสนธิกับจุติ มิได้เสวยอารมณ์ในทวารทั้ง ๖ มีจักษุทวารเป็นต้น. (ป.); ความเป็นอยู่โดยไม่รู้สึกตัว.