ภาษาท่าทาง คือ
สัทอักษรสากล: [phā sā thā thāng] การออกเสียง:
"ภาษาท่าทาง" การใช้"ภาษาท่าทาง" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
- n.
การใช้ท่าทางต่างๆ สื่อสารแทนคำพูด
ตัวอย่างการใช้: ฉันพยายามใช้ภาษาท่าทางช่วยแล้วแต่เขาก็ยังไม่เข้าใจที่ฉันพูดอยู่ดี
- ภา น. แสงสว่าง, รัศมี. ( ป. , ส. ).
- ภาษ พาด ก. พูด, กล่าว, บอก. ( ส. ; ป. ภาส).
- ภาษา น. ถ้อยคำที่ใช้พูดหรือเขียนเพื่อสื่อความของชนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง เช่น ภาษาไทย ภาษาจีน หรือเพื่อสื่อความเฉพาะวงการ เช่น ภาษาราชการ ภาษากฎหมาย
- ท่า ๑ น. ฝั่งน้ำสำหรับขึ้นลงหรือจอดเรือ, ท่าน้ำ ก็เรียก, ที่สำหรับขึ้นลงริมน้ำ เช่น ท่าข้าม; โดยปริยายหมายถึงที่จอดยานพาหนะบางชนิด เช่น ท่าเกวียน
- ท่าทาง ว. กิริยาอาการที่ปรากฏให้เห็น เช่น ท่าทางดี ท่าทางไม่ดี, บางทีใช้ว่า ท่า ก็มี.
- ทา ก. คำรวมหมายถึงกิริยาอาการที่เอาของเปียกหรือของเหลวเป็นต้น ฉาบ ลูบ ไล้ ป้าย หรือบ้าย เช่น ทาสี ทาแป้ง ทาปาก ทายา, ถ้าทาเกลือกหรือเคลือบแต่ผิว ๆ
- ทาง ๑ น. ที่สำหรับเดินไปมา, แนวหรือพื้นที่สำหรับใช้สัญจร, เช่น ทางบก ทางน้ำ ทางอากาศ ทางเดินรถ ทางเท้า ทางข้าม ทางร่วม ทางแยก ทางลาด ทางโค้ง; ช่อง
- ภาษาทางการ ภาษาสุภาพ ภาษาเขียน ภาษามาตรฐาน ภาษาแบบแผน
- การพัฒนาทางด้านภาษา การพัฒนาภาษา
- ภาษาทมิฬ ทมิฬ ชาวทมิฬ
- ภาษาท้องถิ่น n. ภาษาที่มีสำเนียงหรือถ้อยคำที่พูดกันเป็นพื้นเฉพาะถิ่น ชื่อพ้อง: ภาษาถิ่น ตัวอย่างการใช้: หลายครั้งที่ได้ยินพวกคุณพูดคุยกันด้วยภาษาท้องถิ่น มันทำให้ผมอดที่จะคิดถึงบ้านของผมไม่ได้
- ภาษาควอราทีน ภาษาโควราทีน
- ภาษาที่มีวรรณยุกต์ ภาษาวรรณยุกต์
- ภาษาที่ใช้ประจําวัน ภาษาพูด ภาษาธรรมดา
- ภาษาที่ไม่เข้าใจ คําพูดไม่รู้เรื่อง