ภาษาศาสตร์ คือ
สัทอักษรสากล: [phā sā sāt] การออกเสียง:
"ภาษาศาสตร์" การใช้"ภาษาศาสตร์" อังกฤษ"ภาษาศาสตร์" จีน
ความหมายมือถือ
- น. วิชาที่ศึกษาภาษาในแง่ต่าง ๆ เช่น เสียง โครงสร้าง ความหมาย โดยอาศัยวิธีการวิทยาศาสตร์ เช่น มีการตั้งสมมุติฐาน เก็บและวิเคราะห์ข้อมูลแล้วสรุปผล.
- ภา น. แสงสว่าง, รัศมี. ( ป. , ส. ).
- ภาษ พาด ก. พูด, กล่าว, บอก. ( ส. ; ป. ภาส).
- ภาษา น. ถ้อยคำที่ใช้พูดหรือเขียนเพื่อสื่อความของชนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง เช่น ภาษาไทย ภาษาจีน หรือเพื่อสื่อความเฉพาะวงการ เช่น ภาษาราชการ ภาษากฎหมาย
- ศาสตร สาดตฺระ-, สาดสะตฺระ-, สาด น. ระบบวิชาความรู้, มักใช้ประกอบหลังคำอื่น เช่น วิทยาศาสตร์ ประวัติศาสตร์ มนุษยศาสตร์. ( ส. ).
- ศาสตร์ สาดตฺระ-, สาดสะตฺระ-, สาด น. ระบบวิชาความรู้, มักใช้ประกอบหลังคำอื่น เช่น วิทยาศาสตร์ ประวัติศาสตร์ มนุษยศาสตร์. ( ส. ).
- สต สะตะ- น. ร้อย (๑๐๐). ( ป. ; ส. ศต).
- ตร หล่อ
- นักภาษาศาสตร์ n. ผู้ที่มีความเชี่ยวชาญด้านการศึกษาภาษา โดยอาศัยวิธีการวิทยาศาสตร์ ตัวอย่างการใช้: อาจารย์พิณทิพย์ ทวยเจริญเป็นนักภาษาศาสตร์ที่มีชื่อเสียง clf.: คน
- ภาษาศาสตร์วรรณนา ภาษาศาสตร์แบบบรรยาย
- ภาษาศาสตร์แบบบรรยาย ภาษาศาสตร์วรรณนา
- เกี่ยวกับภาษาศาสตร์ เกี่ยวกับภาษา
- ผู้เชี่ยวชาญทางด้านภาษาศาสตร์ นักภาษาศาสตร์
- ผู้เชี่ยวชาญในภาษาศาสตร์ ผู้พูดได้หลายภาษา ผู้เชี่ยวชาญหลายภาษา
- ภาษาศาสนา n. ภาษาที่ใช้ในทางศาสนา ตัวอย่างการใช้: ปฏิคคาหก คำนี้มักคู่กันกับอีกคำหนึ่งในภาษาศาสนาพุทธคือคำที่ว่า ทายก ซึ่งหมายถึงญาติโยมสาธุชนผู้ใจบุญ
- ศึกษาศาสตร์ n. การศึกษาที่เกี่ยวกับการเรียนการสอน ตัวอย่างการใช้: พี่สาวของเขากำลังเรียนศึกษาศาสตร์อยู่ปีสุดท้าย
ประโยค
- แต่พวกเราบางคนไม่ได้เรียน วิชาเอกด้านภาษาศาสตร์นะ
- ผมปฏิเสธหนึ่งในนักภาษาศาสตร์ ชั้นนำของประเทศ
- และถูกเรียกว่า ผู้เชี่ยวชาญทางด้านภาษาศาสตร์
- กรมข้ามวัฒนธรรมการสื่อสารและภาษาศาสตร์ประยุกต์
- ภาษาศาสตร์ การศึกษา โรงเรียนและครูสอนภาษานานาชาติ
- ภาควิชาภาษาเยอรมันภาษาศาสตร์และวรรณคดีต่างประเทศ
- การศึกษาและการวิจัยของสถาบันภาษาศาสตร์ต่างประเทศ
- ฉันจะเป็นนักภาษาศาสตร์ภาษาฝรั่งเศสได้อย่างไร
- ภาษาพูดทั้งหมดมีสิ่งที่นักภาษาศาสตร์เรียกว่า
- วิชาเอกด้านภาษาศาสตร์ แต่ก็วิชารองด้านคอมพิวเตอร์นะ