ภาษาศาสนา คือ
สัทอักษรสากล: [phā sā sāt sa nā] การออกเสียง:
"ภาษาศาสนา" การใช้"ภาษาศาสนา" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
- n.
ภาษาที่ใช้ในทางศาสนา
ตัวอย่างการใช้: ปฏิคคาหก คำนี้มักคู่กันกับอีกคำหนึ่งในภาษาศาสนาพุทธคือคำที่ว่า ทายก ซึ่งหมายถึงญาติโยมสาธุชนผู้ใจบุญ
- ภา น. แสงสว่าง, รัศมี. ( ป. , ส. ).
- ภาษ พาด ก. พูด, กล่าว, บอก. ( ส. ; ป. ภาส).
- ภาษา น. ถ้อยคำที่ใช้พูดหรือเขียนเพื่อสื่อความของชนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง เช่น ภาษาไทย ภาษาจีน หรือเพื่อสื่อความเฉพาะวงการ เช่น ภาษาราชการ ภาษากฎหมาย
- ศาสน สาสะนะ-, สาดสะนะ-, สาดสะหฺนา น. ลัทธิความเชื่อถือของมนุษย์อันมีหลัก คือแสดงกำเนิดและความสิ้นสุดของโลกเป็นต้น อันเป็นไปในฝ่ายปรมัตถ์ประการหนึ่ง
- ศาสนา สาสะนะ-, สาดสะนะ-, สาดสะหฺนา น. ลัทธิความเชื่อถือของมนุษย์อันมีหลัก คือแสดงกำเนิดและความสิ้นสุดของโลกเป็นต้น อันเป็นไปในฝ่ายปรมัตถ์ประการหนึ่ง
- สน ๑ น. ชื่อไม้ต้นหลายชนิดหลายสกุลในหลายวงศ์ เช่น สนสองใบ หรือ เกี๊ยะเปลือกหนา ( Pinus merkusii Jungh. de Vriese), สนสามใบ หรือ เกี๊ยะเปลือกบาง (
- นา ๑ น. พื้นที่ราบทำเป็นคันกั้นน้ำเป็นแปลง ๆ สำหรับปลูกข้าวเป็นต้น, พื้นที่มีลักษณะคล้ายนาสำหรับทำประโยชน์อื่น ๆ เรียกตามสิ่งที่ทำ เช่น นาเกลือ
- ภาษาศาสตร์วรรณนา ภาษาศาสตร์แบบบรรยาย
- นักภาษาศาสตร์ n. ผู้ที่มีความเชี่ยวชาญด้านการศึกษาภาษา โดยอาศัยวิธีการวิทยาศาสตร์ ตัวอย่างการใช้: อาจารย์พิณทิพย์ ทวยเจริญเป็นนักภาษาศาสตร์ที่มีชื่อเสียง clf.: คน
- ภาษาศาสตร์ น. วิชาที่ศึกษาภาษาในแง่ต่าง ๆ เช่น เสียง โครงสร้าง ความหมาย โดยอาศัยวิธีการวิทยาศาสตร์ เช่น มีการตั้งสมมุติฐาน เก็บและวิเคราะห์ข้อมูลแล้วสรุปผล.
- ภาษาศาสตร์แบบบรรยาย ภาษาศาสตร์วรรณนา
- เกี่ยวกับภาษาศาสตร์ เกี่ยวกับภาษา
- ผู้เชี่ยวชาญทางด้านภาษาศาสตร์ นักภาษาศาสตร์
- ผู้เชี่ยวชาญในภาษาศาสตร์ ผู้พูดได้หลายภาษา ผู้เชี่ยวชาญหลายภาษา
- นักศึกษาศาสนศาสตร์ นักศึกษาธรรมะ นักศึกษาเทววิทยา ผู้ศึกษาในโรงเรียนศาสนา