เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

มฤคศิรมาส คือ

การออกเสียง:
ความหมายมือถือ
  • น. เดือนอันมีพระจันทร์เพ็ญเสวยฤกษ์มฤคศิระ คือ เดือนอ้าย ตกในราวเดือนธันวาคม.
  • มฤค     มะรึก, มะรึกคะ- น. สัตว์ป่ามีกวาง อีเก้ง เป็นต้น, ถ้าเป็นตัวเมีย ใช้ว่า มฤคี. ( ส. ; ป. มิค).
  • มฤคศิร     n. ดาวฤกษ์ที่ 5 มี 3 ดวง เห็นเป็นรูปหัวเต่า ชื่อพ้อง: ดาวหัวเต่า, ดาวหัวเนื้อ, ดาวศีรษะเนื้อ, ดาวศีรษะโค, ดาวมฤคศิรัส, ดาวอาครหายณี,
  • ศิร     สิระ- น. หัว, ยอด, ด้านหน้า. ( ส. ศิรสฺ; ป. สิร).
  • รม     ก. อบด้วยควันหรือไอไฟ เช่น ใช้ควันรมปลากะพงให้หอม ใช้ควันอ้อยรมเป็ดให้หอม รมผึ้งให้หนีหรือให้เมา, ทำให้ควันไฟหรือไอไฟเป็นต้นเกาะติดอยู่ เช่น
  • มา     ๑ น. พระจันทร์. ( ป. ; ส. มาสฺ). ๒ ก. เคลื่อนออกจากที่เข้าหาตัวผู้พูด เช่น มานี่ มาหาฉันหน่อย, ตรงกันข้ามกับ ไป. ว.
  • มาส     ๑ น. พระจันทร์, เดือน. ( ป. , ส. ). ๒ ดู ราชมาษ, ราชมาส .
  • มฤคศิระ    -, มะรึกคะสิระ, มะรึกคะเสียน น. ดาวฤกษ์ที่ ๕ มี ๓ ดวง เห็นเป็นรูปหัวเต่า, ดาวหัวเต่า ดาวหัวเนื้อ ดาวศีรษะเนื้อ ดาวศีรษะโค ดาวมฤคศิรัส หรือ ดาวอาครหายณี ก็เรียก. (ป. มิคสิร; ส. มฺฤคศิรสฺ).
  • มฤคศิรัส    น. ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์มฤคศิระ มี ๓ ดวง, ดาวหัวเต่า ดาวหัวเนื้อ ดาวศีรษะเนื้อ ดาวศีรษะโค ดาวมฤคเศียร ดาวมิคสิระ หรือ ดาวอาครหายณี ก็เรียก.
  • ดาวมฤคศิรัส    ดาวศีรษะเนื้อ ดาวศีรษะโค ดาวหัวเต่า ดาวหัวเนื้อ ดาวอาครหายณี มฤคศิร มฤคเศียร
  • มฤค-    มะรึก, มะรึกคะ- น. สัตว์ป่ามีกวาง อีเก้ง เป็นต้น, ถ้าเป็นตัวเมีย ใช้ว่า มฤคี. (ส.; ป. มิค).
  • มฤคย์    มะรึก ว. สิ่งที่ควรติดตาม, สิ่งที่ต้องการ. (ส.).
  • มฤคินทร์    มะรึคิน, -เคน น. ราชสีห์. (ส. มฺฤค + อินฺทฺร).
  • พาฬมฤค    น. สัตว์ร้าย, สัตว์ที่กินสัตว์อื่นเป็นอาหาร. (ป. พาฬมิค; ส. วฺยาลมฺฤค).
  • มฤคชาติ    น. เนื้อ, หมู่เนื้อ.
  • มฤคราช    น. ราชสีห์. (ส.).