มุขย คือ
"มุขย" การใช้
มุกขะยะ-
ว. สำคัญ, เป็นใหญ่. (ส.).
- มุ ก. ตั้งใจเอาจริงเอาจัง เช่น มุดูหนังสือ มุสู้ มุจะเอาชนะให้ได้, มักใช้เข้าคู่กับคำ มานะ เป็น มุมานะ เช่น เขามุมานะทำงาน.
- มุข มุก, มุกขะ- น. หน้า, ปาก; ทาง; หัวหน้า; ส่วนของตึกหรือเรือนที่ยื่นออกมาจากส่วนใหญ่ มักอยู่ด้านหน้า. ( ป. , ส. ).
- ขย ขะยะ- ( แบบ ) น. ความสิ้นไป, ความเสื่อมไป, โดยมากใช้ในสมาส เช่น ขยธรรม อาสวักขยญาณ, ถ้าใช้โดด ๆ หรือเป็นคำท้ายสมาส เป็น ขัย เช่น อายุขัย. ( ป.
- ขยิ่ม ขะหฺยิ่ม ก. กระหยิ่ม, ครึ้มใจ, ภูมิใจ, อิ่มใจ, มักใช้เข้าคู่กับคำ ยิ้มย่อง เป็น ขยิ่มยิ้มย่อง.
- ขยุม ๑ ขะหฺยุม น. ขยม, ข้า, บ่าว. (โบ) ส. ขยม, ฉัน, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑. ๒ ขะหฺยุม ว. ขะยุก, ทำถี่ ๆ, เช่น เห็นลับแลแล้วก็พายขยุมใหญ่. (ส. ท่านพุฒาจารย์-โต).
- ขยุ้ม ขะยุ่ม ก. เอาปลายนิ้วทั้ง ๕ หยิบรวบขึ้นมาเพื่อให้ได้มาก, โดยปริยายใช้ในอาการอย่างนั้น เช่น แมงมุมขยุ้มหลังคา. น. ปริมาณของที่ขยุ้มมาได้ครั้งหนึ่ง ๆ เรียกว่า ขยุ้มหนึ่ง.
- ขย่ม ขะหฺย่ม ก. ใช้น้ำหนักตัวกดลง แล้วยกตัวขึ้นแล้วกลับกดลงอีกซ้ำ ๆ กัน, ห่ม ก็ว่า. (ดู ห่ม ๑).
- มุขย- มุกขะยะ- ว. สำคัญ, เป็นใหญ่. (ส.).
- ขย- ขะยะ- (แบบ) น. ความสิ้นไป, ความเสื่อมไป, โดยมากใช้ในสมาส เช่น ขยธรรม อาสวักขยญาณ, ถ้าใช้โดด ๆ หรือเป็นคำท้ายสมาส เป็น ขัย เช่น อายุขัย. (ป.).
- ขยี้ ขะยี่ ก. ใช้มือ เท้า หรือเล็บเป็นต้นบี้ซ้ำ ๆ ให้แหลกละเอียด เช่น ขยี้พิมเสน ขยี้ดิน, เอาวัตถุเช่นผ้าถูกับเนื้อของมันเองในการซักฟอก, เอาวัตถุเช่นกระดาษถูกับเนื้อของมันเองเพื่อให้นิ่ม, เอามือกดถูไปมา
- มุขยประโยค น. ชื่อประโยคในตำราไวยากรณ์ได้แก่ ประโยคที่มีประโยคอื่นเป็นส่วนขยาย.
- ขยักขย่อน -ขะหฺย่อน ก. ทำ ๆ หยุด ๆ ไม่ให้เสร็จในรวดเดียว.
- ขยักขย้อน -ขะย่อน ก. มีอาการพะอืดพะอมจวนจะอาเจียน.
- ขยี่ขยัน ขะหฺยี่ขะหฺยัน ก. ขยันขันแข็ง เช่น เห็นก็จะขยี่ขยันเขยื้อน. (ม. ร่ายยาว ชูชก).
- ขยุกขยิก ขะหฺยุกขะหฺยิก ก. ไม่อยู่นิ่ง ๆ ขยับไปขยับมา (ใช้ในอาการที่แสดงถึงความไม่เรียบร้อย) เช่น นั่งขยุกขยิก, โดยปริยายหมายถึงลักษณะที่เขียนไม่เรียบร้อย อ่านยากหรืออ่านไม่ออก เช่น เขียนลายมือขยุกขยิก.
ประโยค
- ตอนนั้นข้าเชื่อว่าประมุขยังไม่ตาย
- ประมุขยังติดค้างสัญญานางสามข้อ
- มุขยายป่วยใช้ไม่ได้ผล
- นพ .พิสิษฐ์ ตัณมุขยกุล