ยืนชิงช้า คือ
- (โบ) น. เรียกข้าราชการที่เป็นประธานในพิธีโล้ชิงช้าแทนพระเจ้าแผ่นดินว่า พระยายืนชิงช้า.
- ยืน ก. ตั้งอยู่ เช่น เสายืนเรียงเป็นแถว, เอาเท้าเหยียบพื้นแล้วตั้งตัวให้ตรงขึ้นไป. ว. นาน, ยาว เช่น อายุยืน, ยืด เช่น คบกันยืนนาน; คงอยู่,
- ชิ อ. คำที่เปล่งออกมาเมื่อรู้สึกโกรธหรือไม่ชอบใจเป็นต้น.
- ชิง ๑ ก. แข่ง, แข่งขัน, เช่น ชิงรางวัล ชิงทุน, แย่ง เช่น ชิงอำนาจ. ๒ ( ถิ่น-ปักษ์ใต้ ) น. ต้นกะพ้อ. ( ดู กะพ้อ ๒ ).
- ชิงช้า น. ที่นั่งผูกด้วยเชือกเป็นต้น ๒ ข้าง แขวนตามกิ่งไม้หรือที่สูง สำหรับนั่งหรือยืนไกวไปมา.
- ช้า ๑ ว. ค่อย ๆ เคลื่อนไป, ไม่เร็ว, ไม่ไว, เช่น เดินช้า วิ่งช้า; ล่า, ไม่ทันเวลาที่กำหนด, เช่น มาช้า. ๒ ว. หยาบ, ชั่ว, เลว, ทราม, เช่น
- คนชั่งช้า ปีศาจร้าย
- อย่างชื่นชม อย่างปลาบปลื้ม อย่างปลื้มปิติ อย่างยินดี
- ยืนชิดกับ ทําให้เคลื่อนไปติดกับ
- เส้นชัย น. เส้นที่กำหนดไว้ว่าผู้เข้าแข่งขันที่ไปถึงก่อนเป็นผู้ชนะ.
- ฆ้องชัย น. ฆ้องขนาดใหญ่ สมัยโบราณใช้ตีเป็นสัญญาณในกองทัพ ในปัจจุบันใช้ตีในงานพิธีมงคลต่าง ๆ, ฆ้องหุ่ย ก็เรียก.
- ชิงชัย ก. รบกัน.
- ช่วงชัย น. การเล่นพื้นเมืองอย่างหนึ่ง นิยมเล่นในเทศกาล เช่น สงกรานต์ มีผู้เล่นหลายคน แบ่งออกเป็น ๒ ฝ่าย ชายฝ่ายหนึ่ง หญิงฝ่ายหนึ่ง ยืนหันหน้าเข้าหากัน ห่างพอที่จะใช้ลูกช่วงที่ทำด้วยผ้าขาวม้าเป็นต้นเป็นลูกกล
- ธงชัย ๑ น. ธงซึ่งเป็นเครื่องหมายแห่งชัยชนะ. ๒ น. กาลโยคอย่างหนึ่งในโหราศาสตร์ คือ เวลาประกอบด้วยโชคคราวชนะเข้าไปถึงที่ซึ่งศัตรูจะตั้งอยู่ไม่ได้.
- ยังชั่ว ก. ค่อยดีขึ้น.
- ยังชีพ v. ทำให้ดำรงชีวิตอยู่ได้ , ชื่อพ้อง: เลี้ยงชีพ, เลี้ยงชีวิต, เลี้ยงปากเลี้ยงท้อง ตัวอย่างการใช้: น้ำที่มนุษย์ต้องการใช้ยังชีพกำลังจะเป็นพิษขึ้นทุกที