ราชาศัพท์ คือ
สัทอักษรสากล: [rā chā sap] การออกเสียง:
"ราชาศัพท์" การใช้"ราชาศัพท์" อังกฤษ"ราชาศัพท์" จีน
ความหมาย
มือถือ
- น. คำเฉพาะใช้สำหรับเพ็ดทูลพระเจ้าแผ่นดินและเจ้านาย, ต่อมาหมายรวมถึงคำที่ใช้กับพระภิกษุสงฆ์ ข้าราชการ และสุภาพชนด้วย.
- รา ๑ น. ไม้ที่กระหนาบอยู่ใต้ท้องพรึงรับพื้นเรือนเพื่อไม่ให้พื้นอ่อน อยู่ระหว่างรอด; ไม้จีมเสาที่ปากหลุมซึ่งยังไม่ได้กลบดินเพื่อกันไม่ให้โอนเอน
- ราช ๑ ราด, ราดชะ- น. พระเจ้าแผ่นดิน, พญา (ใช้แก่สัตว์) เช่น นาคราช คือ พญานาค สีหราช คือ พญาราชสีห์, คำนี้มักใช้ประกอบกับคำอื่น,
- ราชา ๑ น. พระเจ้าแผ่นดิน, พระมหากษัตริย์. ( ป. , ส. ). ๒ ว. ตรง เช่น แผ่กิ่งก้านราชา. ( ป. อุชุ; ส. ฤชุ).
- ชา ๑ น. (๑) ชื่อไม้ต้นขนาดเล็กชนิด Camellia sinensis (L.) Kuntze ในวงศ์ Theaceae ขึ้นตามหุบเขาในเขตร้อน ใบใช้ชงเป็นเครื่องดื่ม, พายัพเรียก
- ศัพท สับทะ-, สับ น. เสียง เช่น โทรศัพท์, คำ เช่น ศัพท์บัญญัติ; คำยากที่ต้องแปล, ศัพท์แสง ก็ว่า; เรื่อง เช่น ฟังไม่ได้ศัพท์ จับไปกระเดียด. ( ส. ศพฺท;
- ศัพท์ สับทะ-, สับ น. เสียง เช่น โทรศัพท์, คำ เช่น ศัพท์บัญญัติ; คำยากที่ต้องแปล, ศัพท์แสง ก็ว่า; เรื่อง เช่น ฟังไม่ได้ศัพท์ จับไปกระเดียด. ( ส. ศพฺท;
- คำราชาศัพท์ n. คำเฉพาะใช้สำหรับเพ็ดทูลพระเจ้าแผ่นดินและเจ้านาย, ต่อมาหมายรวมถึงคำที่ใช้กับพระภิกษุสงฆ์ ข้าราชการและสุภาพชนด้วย ชื่อพ้อง: ราชาศัพท์ ตัวอย่างการใช้: สตรีที่มีบรรดาศักดิ์เป็นท่านผู้หญิง
- คําราชาศัพท์ ราชาศัพท์
- (ราชา) เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์
- (ราชาธิราช) มาจาก ราชาธิราช ของ เจ้าพระยาพระคลัง (หน) ฉบับอมรการพิมพ์ พ.ศ. ๒๕๑๓
- ราชาธิราช น. พระราชาผู้เป็นใหญ่กว่าพระราชาอื่น ๆ. (ส.).
- ทุมราชา ทุมมะ- น. พญาไม้, ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่งใช้ทำยาได้ ใช้ว่า ไม้โพ ก็มี. (พจน. ๒๔๙๓).
- ยุพราชา น. รัชทายาทที่สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวสถาปนาขึ้นเป็นตำแหน่งสมเด็จพระยุพราช โดยพระราชทานยุพราชาภิเษกหรือโดยพิธีอย่างอื่นสุดแท้แต่จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ.
- ยุวราชา น. พระราชกุมารที่ได้รับอภิเษกหรือทรงรับแต่งตั้งอยู่ในตำแหน่งที่จะสืบราชสมบัติเป็นพระเจ้าแผ่นดินต่อไป. (ป., ส.).
- ราชาวดี ๑ น. เรียกการลงยาชนิดหนึ่งสำหรับเคลือบทองให้เป็นสีต่าง ๆ เช่น เขียว แดง ฟ้า ว่า ลงยาราชาวดี. (เปอร์เซีย). ๒ น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Buddleja paniculata Wall. ในวงศ์ Buddlejaceae ดอกสีขาวออกเป็นช่อยาว กลิ
ประโยค
- เมื่อพวกท่านเข้าวัง กรุณาใช้คำราชาศัพท์ด้วยนะคะ
- หรือเป็นเพราะว่าข้าไม่ได้ใช้คำราชาศัพท์กับเจ้า ?
- ราชาศัพท์ที่ใช้ในวังถือเป็นเรื่องสำคัญมาก
- เธออาจจะยังไม่คุ้นกับคำราชาศัพท์ งั้นพูดแบบที่ถนัดเถอะ
- เธอคิดว่าฉันสร้างความประทับใจในการใช้คำราชาศัพท์บ้างไหม
- เจ้าอาจจะไม่คุ้นกับคำราชาศัพท์ งั้นพูดแบบที่เจ้าถนัดเถอะ
- ยินดีที่ได้พบคุณ ที่จริงแล้ว การใช้คำราชาศัพท์กับฉันดูไม่เหมาะนะ
- คำราชาศัพท์ แบบฝึกหัด
- มันอาจจะน่าอึดอัดไปสักหน่อยสำหรับพวกคุณ แต่กรุณาใช้คำราชาศัพท์เมื่ออยู่ที่นี่ด้วย