เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

ฤๅษีผสม คือ

การออกเสียง:
ความหมายมือถือ
  • น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Plectranthus scutellarioides (L.) R. Br. ในวงศ์ Labiatae ใบมีสีต่าง ๆ ขอบใบจักเป็นรูปฟันปลา, ฤๅษีผสมแล้ว หรือ ฤๅษีผสมเสร็จ ก็เรียก.
  • ฤๅ     ๑ รือ เป็นรูปสระในภาษาสันสกฤต ซึ่งเป็นเสียงยาวของ ฤ เมื่อไทยนำมาใช้ออกเสียงเป็น รือ เช่น ฤๅษี. ๒ รือ ว. หรือ, อะไร, ไม่ใช่;
  • ฤๅษี     น. ฤษี, นักบวชพวกหนึ่ง มีมาก่อนพุทธกาล สละบ้านเรือนออกไปบำเพ็ญพรตแสวงหาความสงบ.
  • ผสม     ผะ- ก. รวมกันเข้า. ( ข. ผฺสํ).
  • สม     ๑ ว. เหมาะ, เหมาะกับ, ควรแก่, เช่น บ่าวสาวคู่นี้สมกัน เขาแต่งตัวสมฐานะ แสดงละครได้สมบทบาท เขาต่อสู้กันอย่างสมศักดิ์ศรี เด็กคนนี้แต่งตัวไม่สมวัย,
  • ธูปฤๅษี    ดู กกช้าง.
  • พระฤๅษี    น. ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์ศรวณะ มี ๓ ดวง, ดาวหลักชัย ดาวศระวณะ หรือ ดาวสาวนะ ก็เรียก.
  • สํานักฤๅษี    อาศรม
  • ตาลปัตรฤๅษี    น. (๑) ชื่อไม้พุ่มชนิด Opuntia cochenillifera (L.) Miller ในวงศ์ Cactaceae กิ่งแบนอวบ ใบลดขนาดลงเป็นกระจุก ขนค่อนข้างแข็ง เป็นไม้ต่างประเทศ ปลูกเป็นไม้ประดับ. (๒) ชื่อไม้พุ่มชนิด Cycas siamensis Miq
  • ฤๅษีเลี้ยงลิง    (สำ) น. ผู้เลี้ยงเด็กซุกซนหรือปกครองคนหมู่มากที่ไม่อยู่ในระเบียบวินัยย่อมเดือดร้อนรำคาญ.
  • กระโถนฤๅษี    น. ชื่อพืชเบียนชนิด Sapria himalayana Griff. ในวงศ์ Rafflesiaceae เกิดตามป่าดิบ เกาะเบียนที่รากเครือเขาน้ำ (Tetrastigma lanceolarium Planch.) ดอกรูปกระโถนปากแตร กลิ่นเหม็น กลีบดอกสีน้ำตาลแดงประเหลือ
  • ฤๅษีแปลงสาร    น. ชื่อวิธีเขียนหนังสือลับแห่งไทยโบราณกลับตัวอักษรข้างหลังมาไว้ข้างหน้า, โดยปริยายหมายความว่า เปลี่ยนข้อความเดิมให้มีความหมายตรงกันข้าม.
  • สมฤๅดี    สมรึดี, สมรือดี น. ความรู้สึกตัว, ใช้เป็น สมปฤดี สมปฤๅดี หรือ สมประดี ก็มี. (ส. สฺมฺฤติ; ป. สติ).
  • สมปฤๅดี    สมปฺระ-, สมปะรึ-, สมปะรือ- น. ความรู้สึกตัว, มักใช้เข้าคู่กับคำ สติ เป็น สติสมประดี เช่น ไม่ได้สติสมประดี. (ส. สฺมฺฤติ; ป. สติ).
  • คำผสม    คำสมาส คำประสม กระเป๋าใส่เสื้อผ้าที่ใช้ในการเดินทาง
  • คู่ผสม    น. คำเรียกผู้เล่นกีฬาบางประเภทเช่นแบดมินตัน เทนนิส ที่ใช้ผู้ชายกับผู้หญิงเข้าคู่กัน.