ลวงค์ คือ
ละวง
น. กานพลู. (ป., ส. ลวงฺค).
- ลวง ๑ ก. ทำให้หลงผิด เช่น ขุดหลุมพรางลวงข้าศึก. ๒ น. คำกำกับชื่อปีในวิธีนับศักราชของไทยเหนือ ตรงกับเลข ๘, เขียนเป็น รวง ก็มี.
- วง น. รูปที่มีเส้นที่โค้งเข้ามาบรรจบกัน ล้อมรอบเป็นขอบเขตสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น วงกลม วงรี, โดยปริยายหมายถึงลักษณะที่รวมกันเป็นหมู่เป็นกลุ่ม เช่น
- เมืองหลวงคีร์กีซสถาน กรุงบิชเคก
- กลลวง n. เลห์เหลี่ยมที่ทำให้หลงหรือทำให้เข้าใจผิดเพื่อให้เสียเปรียบ ชื่อพ้อง: กลโกง, เล่ห์เหลี่ยม ตัวอย่างการใช้: เขาได้ฉวยโอกาสนี้เพื่อหยุดยั้งกลลวงของหัวหน้าเผ่า
- กลวง ๑ กฺลวง ว. เป็นรูเป็นโพรงข้างใน, ไม่ตัน. ๒ กฺลวง น. บริเวณ, ที่ว่าง, ท่ามกลาง, เช่น ในกลวงป่าตาลนี๋มีศาลาสองอัน. (จารึกสยาม). ๓ กฺลวง (ปาก) น. โรงถลุงดีบุก, คลวง ก็ว่า.
- คลวง ๑ คฺลวง น. เรือน, ที่นั่ง, ตำหนัก. ๒ คฺลวง น. โรงถลุงดีบุก, (ปาก) กลวง.
- จรลวง จอระ- (กลอน) ก. ล่วงไป, ลับไป.
- จุลวงศ์ จุนละ- น. ชื่อหนังสือพงศาวดารลังกา แต่งเป็นภาษาบาลีต่อจากมหาวงศ์ ตั้งแต่รัชสมัยพระเจ้าสิริเมฆวรรณจนถึงลังกาถูกอังกฤษยึดครอง.
- ทะลวง ก. ทำให้เป็นช่องทะลุ เช่น ทะลวงปล้องไม้ไผ่, ทำให้เป็นทางหรือเป็นช่องทะลุเข้าไป เช่น ทะลวงฟัน บุกทะลวง.
- พลวง ๑ พฺลวง น. ธาตุลำดับที่ ๕๑ สัญลักษณ์ Sb เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็งสีขาวคล้ายโลหะเงิน เปราะ หลอมละลายที่ ๖๓๐.๕ °ซ. มีสมบัติพิเศษ คือ ขยายตัวเมื่อแข็งตัว ใช้ประโยชน์นำไปผสมกับโลหะอื่นให้เป็นโลหะเจือ.
- ระลวง ก. ระลุง, ใจห่วงถึง, เป็นทุกข์ถึง.
- ลวงตา ก. ทำให้เห็นผิดไปจากความเป็นจริง เช่น แสงแดดกล้าที่ปรากฏในระยะไกลลวงตาให้เห็นถนนลาดยางเป็นน้ำ. ว. เรียกภาพที่ทำให้เห็นผิดไปจากความเป็นจริงว่า ภาพลวงตา.
- ลวงล่อ ล่อลวง ตุ๋น ลวง ล่อหลอก หลอก หลอกล่อ
- ล่อลวง ก. ใช้อุบายทุจริตให้หลงเชื่อในสิ่งที่เป็นเท็จ เช่น ล่อลวงเด็กไปขาย.
- ล้อลวง ชักจูงให้ร่วมเพศ ดึงดูดใจ ยั่ว-ยวนใจ ล่อลวงให้ไปเสียตัว ล่อใจ