ละหาน คือ
สัทอักษรสากล: [la hān] การออกเสียง:
"ละหาน" การใช้"ละหาน" อังกฤษ"ละหาน" จีน
ความหมายมือถือ
- ๑
น. ห้วงน้ำ. (เทียบ เขมร ว่า รหาล).
๒
ว. ห้อย.
- ละ ๑ ก. อาการที่แยกตัวให้พ้นจากสิ่งใดสิ่งหนึ่งซึ่งเกี่ยวข้องอยู่ เช่น ละถิ่น ละบ้าน ละสมณเพศ; ทิ้งไว้, ปล่อยไว้, เช่น ละไว้ในฐานที่เข้าใจ ละพยศ;
- หา ๑ ก. มุ่งพบ, พบ, เช่น ไปหาหมอ เพื่อนมาหา; เยี่ยม, เยี่ยมเยียน, เช่น เพิ่งทราบว่าครูกำลังป่วย ต้องไปหาท่านเสียหน่อย; ฟ้อง, กล่าวโทษ, เช่น
- ห้วยละหาน ธารน้ํา ละหาน ห้วงน้ํา
- ละหาร น. ห้วงน้ำ. (เทียบ มลายู ว่า lahar).
- ซึ่งละห้อยหา ซึ่งโหยหา
- ความละห้อยหา ความโหยหา
- ถูกและหาง่าย มีอยู่ทั่วไป
- ห้องรับประทานอาหารและห้องนั่งเล่นของนายทหารดังกล่าว นายทหารดังกล่าว ห้องพวกนายทหารในเรือรบ
- ลานประหาร ตะแลงแกง แดนประหาร
- การคิดและหาความรู้ การกระทำของผู้มีปัญญาสูง
- ด้วยความละห้อยหา ด้วยความโหยหา
- ผละหนี v. หลีกไปให้พ้นอย่างกระทันหัน run away (from) ชื่อพ้อง: ผละออก, หนีจาก คำตรงข้าม: เข้าหา, เข้าใกล้ ตัวอย่างการใช้: ฝูงปลาเล็กรีบผละหนีเข้าซุกตามพุ่มปะการัง ด้วยท่าทางตื่นตระหนกกับแสงสีข
- ละหลัด ว. หลัด ๆ, เร็ว ๆ.
- ละหุ่ง น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Ricinus communis L. ในวงศ์ Euphorbiaceae เมล็ดเป็นพิษ น้ำมันที่ได้จากการหีบโดยไม่ใช้ความร้อนใช้ทำยาได้.
- ละห้อย ว. อาการที่พูดเว้าวอนด้วยน้ำเสียงอ่อย ๆ ก่อให้เกิดความสงสารเห็นอกเห็นใจ เช่น เสียงละห้อย; โศกเศร้าเพราะความผิดหวังหรือคิดถึง เช่น หน้าละห้อย.