เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

ลากเสียง คือ

สัทอักษรสากล: [lāk sīeng]  การออกเสียง:
"ลากเสียง" การใช้"ลากเสียง" อังกฤษ"ลากเสียง" จีน
ความหมายมือถือ
  • ก. อาการที่พูดยานคางในความว่า พูดลากเสียง.
  • ลา     ๑ น. ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิด Equus asinus ในวงศ์ Equidae ซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับม้า รูปร่างคล้ายม้าแต่ตัวเล็กกว่า หูยาว ปลายหางเป็นพู่
  • ลาก     ก. ทำให้เคลื่อนที่ตามไปโดยวิธีต่าง ๆ เช่น ดึง ฉุด ระไป ถูไป ล่ามไป โยงไป เช่น ลากเกวียน ม้าลากรถ กระโปรงยาวลากดิน; โดยปริยายหมายความว่า
  • เส     ก. เฉ, ไถล, เช่น เสไปพูดเรื่องอื่น, เชือนแช เช่น เสความ.
  • เสีย     ๑ ก. เสื่อมลงไป, ทำให้เลวลงไป, เช่น เสียเกียรติ เสียศักดิ์ศรี เสียชื่อ; สูญไป, หมดไป, สิ้นไป, เช่น เสียแขน เสียชีวิต เสียทรัพย์; ชำรุด เช่น
  • เสียง     น. สิ่งที่รับรู้ได้ด้วยหู เช่น เสียงฟ้าร้อง เสียงเพลง เสียงพูด; ความเห็น เช่น เรื่องนี้ฉันไม่ออกเสียง, ความนิยม เช่น คนนี้เสียงดี
  • สี     ๑ น. ชื่อเครื่องสำหรับหมุนบดข้าวเปลือกเพื่อทำให้เปลือกแตกเป็นข้าวกล้อง. ก. ถู เช่น ช้างเอาตัวสีกับต้นไม้ ลมพัดแรงทำให้ลำไม้ไผ่สีกัน, ครู่,
  • ยง     ๑ ว. อร่ามเรือง, มักใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส เช่น โฉมยง ยุพยง. ๒ ว. ยั่งยืน, มั่นคง, คงทน, ยืนนาน, เช่น อยู่ยงคงกระพัน ยืนยง. ๓ ว. กล้าหาญ
  • พูดลากเสียง    พูดช้าๆ พูดยานคาง พูดเนิบๆ
  • การพูดลากเสียง    การพูดเนิบๆ
  • ปากเสียง    ก. โต้เถียง, ทะเลาะ, ในคำว่า เป็นปากเสียง มีปากเสียง. น. ผู้พูดหรือโต้เถียงแทน เช่น ผู้แทนราษฎรเป็นปากเสียงของประชาชน.
  • ลากเส้น    ก. ตีเส้น, ขีดเส้น.
  • มีปากเสียง    v. ทุ่มเถียงกันรุนแรงถึงขั้นวิวาท , , ชื่อพ้อง: ทะเลาะ, เถียง, ทุ่มเถียง, มีปากมีเสียง, ทะเลาะวิวาท, ทะเลาะเบาะแว้ง คำตรงข้าม: ปรองดอง ตัวอย่างการใช้: พี่น้องมีปากเสียงกันแต่เช้า
  • เป็นปากเสียง    ก. โต้เถียง เช่น เป็นปากเสียงกัน, พูดหรือโต้เถียงแทน เช่น หนังสือพิมพ์เป็นปากเสียงของประชาชน, เป็นปากเป็นเสียง ก็ว่า.
  • ลากเส้นด้วย protractor    ต่อ ทำให้ยาวออก ยืดออก หน่วงเหนี่ยว เลื่อนไป
  • ลากเส้นรอบ    วงรอบ
ประโยค
  • พี่กระพริบตามากไป พูดไปได้ครึ่งทางพี่ลากเสียงเอส
  • อย่างไรก็ตาม นี่ไม่เชิงเป็นช่วงที่จะลากเสียง
  • เห็นมั้ย ต้องลากเสียงยาวๆ !
  • ลากเสียงในตอนท้าย