เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

วรรณยุกต์ คือ

สัทอักษรสากล: [wan na yuk]  การออกเสียง:
"วรรณยุกต์" การใช้"วรรณยุกต์" อังกฤษ"วรรณยุกต์" จีน
ความหมายมือถือ
  • น. ระดับเสียงสูงต่ำของคำในภาษาไทย มี ๕ เสียง คือ เสียงสามัญ เสียงเอก เสียงโท เสียงตรี เสียงจัตวา มีรูปเครื่องหมายบอกระดับของเสียงอยู่เบื้องบนอักษร ๔ รูป คือ ่ (ไม้เอก) ้ (ไม้โท) ๊ (ไม้ตรี) ๋ (ไม้จัตวา).
  • วร     วะระ-, วอระ- น. พร; ของขวัญ. ว. ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, เลิศ. ( ป. , ส. ).
  • วรรณ     วันนะ- น. สี เช่น เบญจวรรณ แปลว่า ๕ สี, มักใช้เข้าคู่กับคำ สีสัน เป็น สีสันวรรณะ; ผิว เช่น ขอให้เจริญด้วยอายุ วรรณะ สุขะ พละ, มักใช้เข้าคู่กับคำ
  • รณ     รน, รนนะ- น. เสียง, เสียงดัง; สงคราม. ก. รบ, รบศึก. ( ป. , ส. ).
  • ยุ     ก. กล่าวชักชวน ส่งเสริม หนุน หรือเป็นใจให้ทำสิ่งใดสิ่งหนึ่ง (มักใช้ในทางที่ไม่สมควร) เช่น ยุให้เขาทะเลาะกัน ยุให้โกรธ ยุให้กำเริบ.
  • ยุก     ชุด ปริมาณวัตถุที่ทำแต่ละครั้ง
  • ยุกต์     ว. ชอบ, ถูกต้อง, ประกอบ. ( ส. ; ป. ยุตฺต).
  • ภาษาที่มีวรรณยุกต์    ภาษาวรรณยุกต์
  • ภาษาวรรณยุกต์    ภาษาที่มีวรรณยุกต์
  • ระบบวรรณยุกต์    ระบบเสียงวรรณยุกต์
  • วรรณยุต    น. ระดับเสียงสูงต่ำของคำในภาษาไทย มี ๕ เสียง คือ เสียงสามัญ เสียงเอก เสียงโท เสียงตรี เสียงจัตวา มีรูปเครื่องหมายบอกระดับของเสียงอยู่เบื้องบนอักษร ๔ รูป คือ ่ (ไม้เอก) ้ (ไม้โท) ๊ (ไม้ตรี) ๋ (ไม
  • ระบบเสียงวรรณยุกต์    ระบบวรรณยุกต์
  • กรรณยุคล    กันนะ- น. หูทั้ง ๒ ข้าง เช่น ในพระกรรณยุคลท่านนั้น. (ม. คำหลวง มหาราช). (ป., ส. ยุคล ว่า คู่).
  • (วรรณ)    เป็นคำที่ใช้ในวรรณกรรม
  • วรรณ-    วันนะ- น. สี เช่น เบญจวรรณ แปลว่า ๕ สี, มักใช้เข้าคู่กับคำ สีสัน เป็น สีสันวรรณะ; ผิว เช่น ขอให้เจริญด้วยอายุ วรรณะ สุขะ พละ, มักใช้เข้าคู่กับคำ ผิวพรรณ เป็น ผิวพรรณวรรณะ; ชั้นชน, ในสังคมฮินดูแบ่งคน
  • วรรณะ    วันนะ- น. สี เช่น เบญจวรรณ แปลว่า ๕ สี, มักใช้เข้าคู่กับคำ สีสัน เป็น สีสันวรรณะ; ผิว เช่น ขอให้เจริญด้วยอายุ วรรณะ สุขะ พละ, มักใช้เข้าคู่กับคำ ผิวพรรณ เป็น ผิวพรรณวรรณะ; ชั้นชน, ในสังคมฮินดูแบ่งคน
ประโยค
  • การใช้สัญลักษณ์มือแทนรูปพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์
  • ตัวอย่างเสียงวรรณยุกต์ตามลำดับในตารางด้านบน
  • วิธีการเลือกแบบวรรณยุกต์
  • ภาษาไทยเป็นภาษาประจำชาติ ซึ่งเป็นภาษาที่มีวรรณยุกต์และตัวอักษรเป็นของตนเอง
  • หน่วยเสียงวรรณยุกต์
  • จะทราบได้อย่างไรว่ามีอักขระอยู่ในคีย์จำนวนเท่าใด อีกครั้งเกี่ยวกับเทอร์โมมิเตอร์ของวรรณยุกต์
  • อ่านและเขียน สะกดคำ โดยนำเสียงและรูปพยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์ มาประสมคำอ่าน และเขียนคำถูกต้องตามหลักเกณฑ์ของภาษา
  • ปํญหาในการเขียน เช่น เขียนตัวหนังสือกลับหลัง เขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ไม่ถูกที่ หรือ เขียนคำสลับตำแหน่งกัน ทำให้เขียนช้าและไม่ชอบเขียน
  • รวมบันทึกบรรณาธิการให้การวิเคราะห์ความถี่ในการวิเคราะห์ช่วงวรรณยุกต์และแบบไดนามิก คุณสามารถย้ายเคอร์เซอร์ไปที่พื้นที่ของแผนภูมิเพื่อแสดงความถี่และส่วนประกอบกว้าง
  • คุณควรตรวจสอบอีเมล์และรหัสผ่านว่ากรอกถูกต้องหรือไม่ พร้อมทั้งตรวจสอบว่าแป้นคีย์บอร์ดได้ทำการเปลี่ยนภาษาแล้วหรือยัง บางครั้งอาจมีสระหรือวรรณยุกต์ที่มองไม่เห็นซ่อนอยู่