วักกะ คือ
"วักกะ" การใช้"วักกะ" อังกฤษ
- ๑
น. ไต. (โบราณแปลว่า ม้าม). (ป.; ส. วฺฤกฺก).
๒
ว. คด, ไม่ตรง, โกง, งอ. (ป.; ส. วกฺร).
- วัก ๑ ก. เอาอุ้งมือตักน้ำหรือของเหลวขึ้นมาค่อนข้างเร็ว เช่น ใช้มือวักน้ำกิน เอามือวักน้ำโคลนสาด, โดยปริยายหมายถึงอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น
- กก ๑ น. เรียกคำหรือพยางค์ที่มีตัว ก ข ค ฆ สะกดว่า แม่กก หรือ มาตรากก. ๒ น. โคน เช่น กกไม้, ต้น เช่น กกขา, ลำต้น เช่น กกเสา. ๓ น.
- กะ พยางค์หน้าอันใช้เป็น กระ- ได้, แต่มีบางคำซึ่งต้องการพยางค์นี้เพื่อสละสลวยหรือเน้นคำให้เด่นขึ้น เช่น เกริก เป็น กะเกริก, หรือเกิดเป็นพยางค์หน้าขึ้น
- หนักกะลาหัว (ปาก) ว. เป็นภาระของ, เป็นเรื่องของ, เช่น ฉันจะทำอย่างนี้ แล้วมันหนักกะลาหัวใคร, หนักกบาล หนักกบาลหัว หนักหัว หรือ หนักหัวกบาล ก็ว่า.
- ควักกะปิ (ปาก) ก. อาการที่รำเอามือวักไปวักมาอย่างคนรำไม่เป็น.
- ฉักกะ (แบบ) น. หมวด ๖ คือ รวมสิ่งละหก ๆ. (ป.).
- ตักกะ (แบบ) น. ตรรก, ความตรึก, ความคิด. (ป. ตกฺก).
- นักกะ (แบบ) น. จระเข้, เต่า. (ป.; ส. นกฺร).
- สักกะ ๑ (แบบ) น. พระอินทร์. (ป.; ส. ศกฺร). ๒ น. ชื่อวงศ์กษัตริย์วงศ์หนึ่งในเมืองกบิลพัสดุ์, ศากยะ ก็ว่า. (ป.; ส. ศากฺย). (ดู ศากย-, ศากยะ).
- อักกะ น. พระอาทิตย์; ต้นรัก. (ป.; ส. อรฺก).
- เมกกะ สิบยกกําลังหก
- กะชึ่กกะชั่ก ว. ติด ๆ ขัด ๆ, ไปไม่สะดวก.
- จั๊กกะแร้ จักแร้ รักแร้
- นกกะปูด (ปาก) น. คนที่ทนเก็บความลับไว้ไม่ได้, คนที่ชอบพูดเปิดเผยความลับของผู้อื่น.
- พระวักกะ ไต
ประโยค
- วักกะไน ⇒ แหลมโซยะ / เนินโซยะ ⇒ แหลมโนชับปุ ⇒ เขื่อนกั้นน้ำทะเล ⇒ 【 เรือเฟอร์รี่ 】 ⇒ เรบุน
- วักกะไน ⇒ 【 เรือเฟอร์รี่ 】 ⇒ ท่องเที่ยวบนเกาะเรบุน ( สวน คิตาโนะ คานาเรีย 、 เดินชมเส้นทางธรรมชาติพร้อมไกด์นำทาง 、 แหลมซุโคะตง ) ⇒ เรบุน