เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

วัวเขาเกก คือ

การออกเสียง:
ความหมายมือถือ
  • น. วัวที่มีเขาเฉออกไม่เข้ารูปกัน; โดยปริยายหมายถึงคนที่เป็นอันธพาลเกะกะเกเร, ควายเขาเกก ก็ว่า.
  • วัว     ๑ น. ชื่อสัตว์เคี้ยวเอื้องชนิด Bos taurus ในวงศ์ Bovidae เป็นสัตว์กีบคู่ ลำตัวมีสีต่าง ๆ เช่น น้ำตาล นวล เขาโค้ง สั้น
  • เข     ๑ ว. เหล่น้อย (ใช้แก่ตา). ๒ ดู แกแล .
  • เขา     ๑ น. เนินที่นูนสูงขึ้นไปเป็นจอมเด่น. ๒ น. สิ่งที่งอกออกมาจากหัวสัตว์บางพวก มีลักษณะแข็ง. ๓ น. ชื่อนกในวงศ์ Columbidae
  • ขา     ๑ น. อวัยวะตั้งแต่ตะโพกถึงข้อเท้า สำหรับยันกายและเดินเป็นต้น (ไทยถิ่นอื่น ขา หมายความตั้งแต่ตะโพกถึงเข่า);
  • เก     ว. ไม่ตรงตามแนว, ไม่เป็นระเบียบ, (ใช้แก่ของที่เป็นซี่เป็นลำ) เช่น ฟันเก ขาเก; ไม่ยอมปฏิบัติตามระเบียบ; เกะกะ, เกเร; ( ปาก )
  • เกก     ว. เก, เกไป, เรียกเขาวัวเขาควายเป็นต้นที่เฉออกไม่เข้ารูปกันว่า เขาเกก, เรียกงาช้างที่ปลายเฉออกไปว่า งาเกก เช่น งาเกกข้างหนึ่งเข้า โดยหลัง. (
  • กก     ๑ น. เรียกคำหรือพยางค์ที่มีตัว ก ข ค ฆ สะกดว่า แม่กก หรือ มาตรากก. ๒ น. โคน เช่น กกไม้, ต้น เช่น กกขา, ลำต้น เช่น กกเสา. ๓ น.
  • ควายเขาเกก    น. ควายที่มีเขาเฉออกไม่เข้ารูปกัน; โดยปริยายหมายถึงคนที่เป็นอันธพาลเกะกะเกเร, วัวเขาเกก ก็ว่า.
  • ตัวเขาเอง    ตัวเอง ตัวฉันเอง เขาเอง
  • ทิวเขา    n. แนวสันเขาที่ติดต่อกันเป็นพืดไป ตัวอย่างการใช้: ทิวเขาบรรทัดเป็นทิวเขาที่กั้นเขตแดนระหว่างไทยกับกัมพูชา clf.: ทิว
  • ขาเขียด    น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Monochoria vaginalis (Burm.f.) Kunth ในวงศ์ Pontederiaceae ดอกสีม่วงน้ำเงิน เกิดในน้ำและปลักตม กินได้.
  • ขาเข้า    1) adj. ที่เข้าสู่ข้างใน, ซึ่งเข้ามาสายข้างใน คำตรงข้าม: ขาออก ตัวอย่างการใช้: ฉันเห็นรถเมล์ขาเข้าตอนเช้าๆ จะมีคนแน่นมาก 2) n. เที่ยวที่เข้าสู่ในประเทศ คำตรงข้าม: ขาออก ต
  • เจ้าเขา    นเคนทร์
  • ชาวเขา    คนดอย คนภูเขา ชาวดอย ชาวกะเหรี่ยง
  • แนวเขา    ทิวเขา เทือกเขา เขา ภูเขา ขุนเขา ขุนคีรี ยอดเขา