วิภัชวาที คือ
- น. ผู้จำแนกธรรมแต่ละหัวข้อตามเหตุและผลแห่งธรรมนั้น โดยคำนึงถึงนิสัยของผู้ฟังเป็นที่ตั้ง.
- วิ คำนำหน้าศัพท์ แปลว่า วิเศษ, แจ้ง, ต่าง, เช่น วิสุทธิ วิเทศ. ( ป. , ส. ).
- วิภัช -พัด, -พัดชะ- ก. แบ่ง, แยก, จำแนก. ( ป. , ส. ).
- ชว ชะวะ- ( แบบ ) ว. เร็ว, (มักใช้เป็นส่วนหน้าสมาส) เช่น ชวการ ชวกิจ ชวเลข, แผลงเป็น เชาว์ ก็มี.
- ชวา ชะ- น. ชื่อเกาะสำคัญที่สุดและเป็นที่ตั้งเมืองหลวงของประเทศอินโดนีเซีย, ( โบ ) ใช้ว่า ยะวา ก็มี, เรียกประชาชนที่พูดภาษาชวาว่า ชาวชวา;
- วา ๑ น. มาตราวัดตามวิธีประเพณี เท่ากับ ๔ ศอก มีอัตราเท่ากับ ๒ เมตร, อักษรย่อว่า ว. ก. กิริยาที่กางแขนเหยียดตรงออกทั้ง ๒ ข้าง. ๒ น.
- วาท วาด, วาทะ- น. คำพูด, ถ้อยคำ; ลัทธิ, ความเห็น. ( ป. , ส. ).
- วาที น. ผู้พูด, ผู้กล่าว, ผู้ชี้แจง, ผู้โต้แย้ง; คนเล่นดนตรี. ( ป. , ส. ).
- ที ๑ น. ครั้ง, คราว, หน, เช่น ทีละน้อย ทีละคน; ใช้เป็นลักษณนามบอกจำนวนครั้ง เช่น เฆี่ยน ๓ ที นาฬิกาตี ๕ ที. ๒ น. ท่าทาง, ชั้นเชิง, โอกาส, เช่น
- ชวนวิวาท ยั่วยุ ทําให้รําคาญ ทําให้โกรธ
- ราโชวาท น. คำสั่งสอนของพระราชา ใช้ว่า พระบรมราโชวาท. (ป.).
- วิวาท ก. ทะเลาะ เช่น เด็กวิวาทกัน, มักใช้เข้าคู่กับคำ ทะเลาะ เป็น ทะเลาะวิวาท. (ป., ส.).
- ภูว พูวะ- น. แผ่นดิน. (ส. ภุว).
- ภูว- พูวะ- น. แผ่นดิน. (ส. ภุว).
- วิภู น. ผู้ครอง, พระเจ้าแผ่นดิน. ว. ยิ่งใหญ่, มีอำนาจ; แข็งแรง. (ป., ส.).
- วิวาทกัน ทะเลาะ โต้เถียง