เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

ศรุตะ คือ

การออกเสียง:
ความหมายมือถือ
  • สะรุตะ
    ก. ได้ยิน, ได้ฟัง; มีชื่อเสียง, มีผู้รู้จัก. (ส.).
  • ศร     สอน น. อาวุธชนิดหนึ่ง ประกอบด้วยคันสำหรับยิง เรียกว่า คันศร กับลูกที่มีปลายแหลม เรียกว่า ลูกศร, เรียกสายคันศรว่า สายศร,
  • ศรุต     1) adj. ชื่อพ้อง: ได้ยิน, ได้ฟัง 2) adj. ที่มีชื่อเสียง, ที่มีผู้รู้จัก, เป็นที่รู้จัก
  • รุ     ก. ระบายสิ่งที่ไม่ต้องการออกไป เช่น บริษัทรุคนงานเก่าออก พี่รุเสื้อผ้าให้น้อง.
  • รุต     น. เสียง, เสียงร้อง, เสียงสัตว์. ( ป. , ส. ).
  • ตะ     ก. ทา, ฉาบ, แตะ, กะไหล่ เช่น ตะทอง ว่า กะไหล่ทอง, ตะทองลาย ว่า กะไหล่ทองเป็นดวง ๆ, หรือ ตะถม เป็นต้น.
  • ศรี    ๑ สี น. มิ่ง, สิริมงคล, ความรุ่งเรือง, ความสว่างสุกใส, ความงาม, ความเจริญ, เช่น ศรีบ้าน ศรีเรือน ศรีเมือง, ใช้นำหน้าคำบางคำเป็นการยกย่อง เช่น พระศรีรัตนตรัย วัดพระศรีรัตนศาสดาราม. (ส. ศฺรี; ป. สิริ,
  • นริศร    นะริน, นะริด, นะริดสวน (แบบ) น. พระราชา. (ส. นร + อินฺทฺร, นร + อีศ, นร + อีศฺร, นร + อีศฺวร).
  • บดีศร    บอดีสอน (กลอน) น. นายผู้เป็นใหญ่.
  • มหิศร    มะหิด, มะหิดสอน, มะหิสวน น. ผู้เป็นใหญ่ยิ่ง, เลือนมาจาก มเหศวร หมายถึง พระศิวะ หรือ พระเจ้าแผ่นดิน. (ส.).
  • มิศร    มิดสะระ-, มิดสะระกะ- ว. เจือ, ปน, คละ; ประสมขึ้น. (ส.; ป. มิสฺส, มิสฺสก).
  • มิศร-    มิดสะระ-, มิดสะระกะ- ว. เจือ, ปน, คละ; ประสมขึ้น. (ส.; ป. มิสฺส, มิสฺสก).
  • ศรชี้    ลูกศร ลูกศรชี้
  • ศรัณยู    สะรันยู น. ผู้เป็นที่พึ่ง. (ส. ศรณฺยุ).
  • ศรัณย์    สะรัน ว. ซึ่งเป็นที่พึ่ง. (ส. ศรณฺย).
  • ศรัท    สะรัด น. ฤดูสารท. (ส. ศรท; ป. สรท).