สรเพชญ คือ
สฺระเพด
น. สรรเพชญ. (ส. สรฺวชฺ).
- สร สฺระ- คำนำหน้าคำอื่นที่ใช้ในบทกลอนเพื่อความสละสลวย เช่น ดื่น เป็น สรดื่น, คำที่แผลงมาจากคำที่ขึ้นต้นด้วยตัว ส ซึ่งใช้ในบทกลอน เช่น สนุก เป็น
- เพ ก. พังทลาย.
- สรรเพชญ (แบบ) น. ผู้รู้ทุกสิ่งทุกอย่าง, ผู้รู้ทั่ว, พระนามของพระพุทธเจ้า, สรรพัชญ ก็เรียก. (ส. สรฺวชฺ; ป. สพฺพญฺญู).
- สรรเพชุดา สันเพดชุ- (แบบ) น. ความเป็นผู้รู้ทุกสิ่ง หมายเอาความเป็นพระพุทธเจ้า. (ส. สรฺวชฺาตฺฤ; ป. สพฺพญฺญุตา).
- สรรเพชุดาญาณ น. ญาณหรือปัญญาที่รู้ทุกสิ่ง หมายเอาญาณของพระพุทธเจ้า. (ส. สรฺวชฺาน; ป. สพฺพญฺญุตาณ).
- โคตรเพชร n. เพชรที่ใหญ่ที่สุด ตัวอย่างการใช้: ในงานวันนี้ ผมได้ชมความงามของโคตรเพชร นับว่าคุ้มจริงๆ clf.: เม็ด, กะรัต
- สรรพัชญ (แบบ) น. สรรเพชญ. (ส. สรฺวชฺ).
- (นิ. เพชร) มาจาก นิราศเมืองเพชร ฉบับราชบัณฑิตยสภา พ.ศ. ๒๔๗๐
- สมเพช -เพด ก. สงสารสลดใจ, ควรได้รับความกรุณา, เช่น เห็นคนอนาถาแล้วอดสมเพชไม่ได้, มักใช้เข้าคู่กับคำ เวทนา เป็น สมเพชเวทนา. (ป., ส. สํเวชน ว่า สยดสยอง, สังเวช).
- เพชร เพ็ด, เพ็ดชะ- น. ชื่อแก้วที่แข็งที่สุดและมีน้ำแวววาวมากกว่าพลอยอื่น ๆ ใช้ทำเครื่องประดับหรือใช้ประโยชน์ในทางอุตสาหกรรม; โดยปริยายหมายความว่า แข็งที่สุด เช่น เหล็กเพชร ใจเพชร. (ส. วชฺร; ป. วชิร).
- เพชร- เพ็ด, เพ็ดชะ- น. ชื่อแก้วที่แข็งที่สุดและมีน้ำแวววาวมากกว่าพลอยอื่น ๆ ใช้ทำเครื่องประดับหรือใช้ประโยชน์ในทางอุตสาหกรรม; โดยปริยายหมายความว่า แข็งที่สุด เช่น เหล็กเพชร ใจเพชร. (ส. วชฺร; ป. วชิร).
- เกสรเพศผู้ วงเกสรเพศผู้
- เพลงสรรเสริญ กลอนสวด เพลงสวด
- การเจียรไน เพชรพลอย ศิลปะการเจียระไนเพชรพลอย
- เพชรตัดเพชร (สำ) น. คนเก่งต่อเก่งมาสู้กัน.