เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

สร คือ

การออกเสียง:
"สร" การใช้
ความหมายมือถือ
  • สฺระ-
    คำนำหน้าคำอื่นที่ใช้ในบทกลอนเพื่อความสละสลวย เช่น ดื่น เป็น สรดื่น, คำที่แผลงมาจากคำที่ขึ้นต้นด้วยตัว ส ซึ่งใช้ในบทกลอน เช่น สนุก เป็น สรนุก.

    สอน
    น. ศร. (ป.; ส. ศร).
  • สร-    ๒ สอระ- ว. ทิพย์, แกล้วกล้า, เช่น สรศาสดา สรศักดิ์ สรสีห์. (ป., ส. สุร). ๓ สฺระ- คำนำหน้าคำอื่นที่ใช้ในบทกลอนเพื่อความสละสลวย เช่น ดื่น เป็น สรดื่น, คำที่แผลงมาจากคำที่ขึ้นต้นด้วยตัว ส ซึ่งใช้ในบทกล
  • สรี้    สะรี้ ดู กระซิก ๒.
  • สรสรก    สะระสก ว. โซก, ซ่ก, โชก, เช่น แล้วมันก็เชือดเอาหัวใจนาง เลือดตกพลางสรสรก แล่นฉวยฉกหาไปบอยู่แล. (ม. คำหลวง กุมาร).
  • สรุสระ    สะหฺรุสะหฺระ ว. ขรุขระ, ไม่เรียบร้อย.
  • (สรีร)    เป็นคำที่ใช้ในสรีรวิทยา
  • กสร.    กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
  • ตรัสรู้    ตฺรัดสะ- ก. รู้แจ้ง (ใช้เฉพาะพระพุทธเจ้า); โดยปริยายหมายความว่า รู้เอาเองว่าเป็นอย่างนั้นอย่างนี้.
  • มธุสร    -สอน น. เสียงหวาน. (ป.; ส. มธุสฺวร).
  • มัสรู่    ๑ มัดสะหฺรู่ น. ชื่อผ้าไหมมีริ้วเป็นสีต่าง ๆ, เข้มขาบไหม ก็เรียก. (ฮ. มัศรู; ม. มิสรู). ๒ มัดสะหฺรู่ น. แกงเผ็ดอย่างมุสลิม.
  • สรง    สง ก. อาบน้ำ (ใช้แก่บรรพชิตและเจ้านาย). (ข.).
  • สรณ    สะระนะ- น. ที่พึ่ง, ที่ระลึก; ความระลึก. (ป.; ส. ศรณ).
  • สรณ-    สะระนะ- น. ที่พึ่ง, ที่ระลึก; ความระลึก. (ป.; ส. ศรณ).
  • สรบ    สฺรบ (โบ; กลอน) ว. ทั่ว, พร้อม, เขียนเป็น สรับ ก็มี.
  • สรภู    สะระ- น. ตุ๊กแก. (ป.).
  • สรม    สฺรม ก. ขอ, มักใช้ว่า สรวม. (ข. สูม). ว. พร้อม.
ประโยค
  • บางทีพวกคุณอาจได้มันก่อนที่ฉันจะทำของหวานเสร็จ
  • ถ้าเมกุมิ ลางาน ใครจะออกใบเสร็จรับเงินการขายล่ะ ?
  • หยุดสร้างเรื่องน่ารังเกียจของนายในวังนี้เสียที
  • สี่หนุ่มผู้กล้านังไม่รู้ว่าอุปสรรคกำลังจะมาถึง
  • ในภาระกิจนี้ที่เข้ามาฟังสรุปผลการปฏิบัติงานสาย
  • โอ้ ไม่จำเป็น แฮรี่ ท่านรมต.กับฉันคุยกันเสร็จแล้ว
  • เพื่อใช้กดขี่สิทธิและเสรีภาพส่วนบุคคลของมนุษย์
  • เราต้องการชื่ออย่างเป็นทางการที่เลือกสรรค์แล้ว
  • แต่มันทำให้ฉันต้องทำงานจนถึงสองทุ่มกว่าจะเสร็จ
  • คิมแทบองบอกว่าเขาจะสร้างโรงงานเพื่อกำจัดฝูงยุง
  • ตัวอย่างการใช้เพิ่มเติม:  1  2  3  4  5