สังเวชนียสถาน คือ
"สังเวชนียสถาน" การใช้
- สังเวชะนียะสะถาน
น. สถานที่ทางพระพุทธศาสนาอันเป็นที่ตั้งแห่งความสลดสังเวช มี ๔ แห่ง คือ
๑. สถานที่ที่พระพุทธเจ้าประสูติ ได้แก่ สวนลุมพินี ปัจจุบันได้แก่ รุมมินเด ในประเทศเนปาล
๒. สถานที่ที่พระพุทธเจ้าตรัสรู้ คือ ที่ควงพระศรีมหาโพธิ ปัจจุบันได้แก่ พุทธคยา ประเทศอินเดีย
๓. สถานที่ที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนา คือ ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสี ปัจจุบันได้แก่ สารนาถ ประเทศอินเดีย
๔. สถานที่ที่พระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธปรินิพพาน คือ ป่าสาลวัน เมืองกุสินารา ปัจจุบันได้แก่ เมืองกาเซีย ประเทศอินเดีย.
- สัง ( ถิ่น-อีสาน ) น. ต้นมะสัง. ( ดู มะสัง ).
- สังเวช สังเวด, สังเวชะ- ก. รู้สึกเศร้าสลดหดหู่ต่อผู้ที่ได้รับทุกขเวทนา หรือต้องตายไป หรือต่อผู้ที่ตนเคารพนับถือซึ่งประพฤติตนไม่เหมาะสมเป็นต้น เช่น
- เวช เวด, เวดชะ- น. หมอรักษาโรค. ( ป. เวชฺช; ส. ไวทฺย).
- ชน ๑ ก. โดนแรง ๆ เช่น รถยนต์ชนต้นไม้, ชิดจนติด เช่น ตั้งตู้ชนฝา; บรรจบ เช่น ชนขวบ; ให้ต่อสู้กัน เช่น ชนโค ชนไก่. น.
- สถาน สะถานะ- น. ความเป็นไป, ความเป็นอยู่, เช่น เขาอยู่ในสถานะยากไร้ เศรษฐกิจของประเทศไทยมีสถานะมั่นคง น้ำมีสถานะปรกติเป็นของเหลว. ๑ สะถาน น.
- ถา ก. ถลา, โผลง; ลับ, ถูให้คม. (ไทยเดิม ถา ว่า โกน).
- ถาน น. ส้วมของพระ.
- บูชนียสถาน บูชะนียะสะถาน น. สถานที่เนื่องด้วยศาสนา ซึ่งเป็นที่ควรแก่การเคารพบูชา เช่น วัดพระศรีรัตนศาสดาราม พระปฐมเจดีย์.
- ปูชนียสถาน ศาลเจ้า สถานที่ศักดิ์สิทธิ์ สถูป อาราม สถานที่บูชา อนุสรณ์ อนุสาวรีย์ สิ่งเตือนความทรงจํา บูชนียสถาน ที่หลบภัย สถานที่สักการะบูชา
- เจดีย์ปูชนียสถาน ศาลเจ้า สถานที่บูชา สถูป หิ้งบูชา อาราม
- สังเวช- สังเวด, สังเวชะ- ก. รู้สึกเศร้าสลดหดหู่ต่อผู้ที่ได้รับทุกขเวทนา หรือต้องตายไป หรือต่อผู้ที่ตนเคารพนับถือซึ่งประพฤติตนไม่เหมาะสมเป็นต้น เช่น เห็นผู้คนประสบอุบัติเหตุเครื่องบินตกแล้วสังเวช พอรู้ข่าวว่
- สถานกักกันเยาวชน ทัณฑสถานเด็ก ที่กักกัน
- นฤตยสถาน น. ที่สำหรับการระบำ. (ส.).
- นายสถานี n. ผู้มีหน้าที่ควบคุมดูแลกิจการของสถานี ชื่อพ้อง: นายท่า ตัวอย่างการใช้: เขาดันจับพลัดจับผลูไปเป็นนายสถานีบขส. clf.: คน
- รมณียสถาน น. สถานที่ให้ความรื่นรมย์, สถานที่ให้ความบันเทิงใจ.
ประโยค
- คือ สถานที่หรือสิ่งของทั้งหมดที่เกี่ยวเนื่องกับพระพุทธเจ้า เช่น สังเวชนียสถานทั้งสี่ ต้นพระศรีมหาโพธิ์ พุทธบริขาร รอยพระพุทธบาท ฯลฯ