สัสุรี คือ
สะ-, สัดสุ-
น. แม่ยาย, แม่ผัว. (ป.; ส. ศฺวศฺรู).
- สุ ๑ ก. ซักสบงจีวรวิธีหนึ่งโดยใช้น้ำร้อนหรือมะกรูดมะนาวเป็นต้น, มักใช้ว่า ซักสุ. ๒ ว. เสีย แต่ยังไม่เน่า (มักใช้แก่แตงโม) เช่น แตงโมใบนี้สุแล้ว
- สุร -ระ- น. เทวดา. ว. ทิพย์. ( ป. , ส. ).
- รี ว. เรียว, ถ้ากลมเรียวอย่างรูปไข่ เรียกว่า กลมรี, ถ้ายาวเรียวและมีหัวท้ายอย่างเมล็ดข้าวสาร เรียกว่า ยาวรี, ไม่กลม เช่น วงรี, ยาว เช่น หันรีหันขวาง
- สัปปุริส สับปุริสะ-, สับปุหฺรุด น. คนที่เป็นสัมมาทิฐิ, คฤหัสถ์ผู้มีศรัทธาในพระศาสนา, คนที่มีความเห็นชอบตามทำนองคลองธรรม. (ป. สปฺปุริส; ส. สตฺปุรุษ).
- สัปปุริส- สับปุริสะ-, สับปุหฺรุด น. คนที่เป็นสัมมาทิฐิ, คฤหัสถ์ผู้มีศรัทธาในพระศาสนา, คนที่มีความเห็นชอบตามทำนองคลองธรรม. (ป. สปฺปุริส; ส. สตฺปุรุษ).
- รัส รัดสะ- ว. สั้น. (ป.).
- รัส- รัดสะ- ว. สั้น. (ป.).
- สิร -ระ- น. หัว, ยอด, ที่สุด. (ป.; ส. ศิรา).
- สิร- -ระ- น. หัว, ยอด, ที่สุด. (ป.; ส. ศิรา).
- สิริ ๑ ก. ผสม เช่น สามีภรรยาสิริอายุเข้าด้วยกัน ๑๕๐ ปี, รวม เช่น สิริอายุได้ ๗๒ ปี. ๒ น. ศรี, มิ่งขวัญ, มงคล, เช่น สิริราชสมบัติ, มักใช้เข้าคู่กับคำ มงคล เป็น สิริมงคล; สวย, งาม, เช่น ทรงมีพระสิริโฉม. (ป
- สิรี น. ศรี, มิ่งขวัญ, มงคล, เช่น สิริราชสมบัติ, มักใช้เข้าคู่กับคำ มงคล เป็น สิริมงคล; สวย, งาม, เช่น ทรงมีพระสิริโฉม. (ป.; ส. ศฺรี).
- สุร- ๑ -ระ- น. ผู้กล้าหาญ, นักรบ; พระอาทิตย์. ว. กล้าหาญ, เข้มแข็ง. (ป. สูร; ส. ศูร). ๒ -ระ- น. เทวดา. ว. ทิพย์. (ป., ส.).
- สูร สูน, สูระ น. ผู้กล้าหาญ, นักรบ; พระอาทิตย์. (ป., ส.). ว. กล้าหาญ, เข้มแข็ง. (ป.; ส. ศูร).
- สูริ น. คนมีปัญญา. (ป., ส.); ผู้กล้าหาญ. (ป.; ส. ศูริ).
- สู่รู้ ก. อวดรู้ เช่น ถ้าไม่รู้จริง อย่าสู่รู้.