สิขี คือ
"สิขี" การใช้"สิขี" อังกฤษ
- น. เปลวไฟ; นกยูง; พระนามของพระพุทธเจ้าองค์หนึ่ง. (ป.; ส. ศิขินฺ).
- สิ คำประกอบท้ายคำอื่นเพื่อเสริมข้อความให้เด่น ให้ชัด หรือให้สละสลวย เป็นต้น, โดยมากใช้กับกริยาเป็นเชิงบังคับ เชิงชวน หรือรับคำ เป็นต้น เช่น ไปสิ มาสิ,
- สิข น. ชื่อศาสนาหนึ่งในอินเดีย มีศาสดาชื่อ คุรุนานัก; ชื่อชาวอินเดียพวกหนึ่งที่นับถือศาสนาสิกข์ ส่วนมากอยู่ในแคว้นปัญจาป ประเทศอินเดีย; ซิก หรือ ซิกข์
- สุข สุก, สุกขะ- น. ความสบายกายสบายใจ เช่น ขอให้อยู่ดีมีสุข เกิดมาก็มีสุขบ้างทุกข์บ้าง, มักใช้เข้าคู่กับคำ เป็น เช่น ขอให้อยู่เย็นเป็นสุข ขอให้เป็นสุข ๆ นะ. ว. สบายกายสบายใจ เช่น เดี๋ยวนี้เขาอยู่สุขสบายด
- สุข- สุก, สุกขะ- น. ความสบายกายสบายใจ เช่น ขอให้อยู่ดีมีสุข เกิดมาก็มีสุขบ้างทุกข์บ้าง, มักใช้เข้าคู่กับคำ เป็น เช่น ขอให้อยู่เย็นเป็นสุข ขอให้เป็นสุข ๆ นะ. ว. สบายกายสบายใจ เช่น เดี๋ยวนี้เขาอยู่สุขสบายด
- สุขี (กลอน) น. ผู้มีความสุข. ว. สบาย. (ป. สุขี; ส. สุขินฺ).
- สันติสุข น. ความสุขที่เกิดจากความสงบ เช่น รัฐบาลบริหารประเทศเพื่อสันติสุขของประชาชน.
- ขี้สัตว์ มูลสัตว์
- ขี้สูด (ถิ่น-อีสาน) ดู ชันโรง.
- ขึ้นที่สูง ขึ้นเขา ขึ้นเนิน
- ข้อพิสูจน์ n. สิ่งที่ชี้แจงให้รู้เหตุผล, สิ่งที่แสดงให้เห็นจริง , ชื่อพ้อง: หลักฐาน, ข้อยืนยัน, ข้อรับรอง ตัวอย่างการใช้: กระทรวงสาธารณสุขพยายามหาข้อพิสูจน์ว่ายาสมุนไพรใช้รักษาโรคเอดส์ได้หรือไม่
- ทุกข์สุข น. ความเป็นอยู่หรือความเป็นไปของชีวิตในขณะนั้น.
- สิ่งที่ใช้ขู่ หุ่นไล่กา
- สีขิง คล้ายขิง เผ็ดอย่างออกรส กลิ่นฉุน
- สีข้าง น. ข้างทั้ง ๒ ของร่างกาย ถัดรักแร้ลงมาถึงสะเอว.
- สุขิน (กลอน) น. ผู้มีความสุข. ว. สบาย. (ป. สุขี; ส. สุขินฺ).