สิขร คือ
สัทอักษรสากล: [si khøn] การออกเสียง:
"สิขร" การใช้"สิขร" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
-ขอน
น. จอม, ยอด, หงอน; ยอดเขา. (ป.; ส. ศิขร).
- สิ คำประกอบท้ายคำอื่นเพื่อเสริมข้อความให้เด่น ให้ชัด หรือให้สละสลวย เป็นต้น, โดยมากใช้กับกริยาเป็นเชิงบังคับ เชิงชวน หรือรับคำ เป็นต้น เช่น ไปสิ มาสิ,
- สิข น. ชื่อศาสนาหนึ่งในอินเดีย มีศาสดาชื่อ คุรุนานัก; ชื่อชาวอินเดียพวกหนึ่งที่นับถือศาสนาสิกข์ ส่วนมากอยู่ในแคว้นปัญจาป ประเทศอินเดีย; ซิก หรือ ซิกข์
- สิขรี -ขะรี น. ภูเขา. (ป.; ส. ศิขรินฺ).
- สักขรา -ขะรา น. น้ำตาล, น้ำตาลกรวด. (ป.; ส. ศฺรกรา).
- สิงขร -ขอน น. สิขร.
- ปฏิสังขรณ์ ก. ซ่อมแซมทำให้กลับคืนดีเหมือนเดิม (มักใช้เฉพาะวัดวาอาราม) เช่น ปฏิสังขรณ์วัด. (ป.).
- ขรี ขฺรี ดู สักขี ๒.
- คำไขรหัส คำกุญแจ คีย์เวิร์ด
- ปฏิสังขรณ์ได้ ชดเชยได้ ซ่อมแซมได้ ปรับปรุงได้ รักษาหรือเยียวยาได้
- การปฏิสังขรณ์ การบูรณะ การซ่อมแซมใหม่ การทําให้มีสภาพดีเหมือนเดิม การฟื้นฟู
- เป็นการปฏิสังขรณ์ เป็นการซ่อมแซม
- ขรุขระ ขฺรุขฺระ ว. เป็นปุ่มเป็นแง่, ไม่เรียบราบ.
- ขรม ขะหฺรม ว. เอ็ดอึง, แซ่, (ใช้แก่เสียง).
- ขรัว ขฺรัว น. คำเรียกภิกษุที่มีอายุมาก หรือที่บวชเมื่อแก่ หรือฆราวาสผู้เฒ่า. ว. เรียกคนที่มั่งมีว่า เจ้าขรัว.
- ขริบ ขฺริบ ก. ตัดเล็มด้วยตะไกรเป็นต้น.