สิเนหนียะ คือ
- สิ คำประกอบท้ายคำอื่นเพื่อเสริมข้อความให้เด่น ให้ชัด หรือให้สละสลวย เป็นต้น, โดยมากใช้กับกริยาเป็นเชิงบังคับ เชิงชวน หรือรับคำ เป็นต้น เช่น ไปสิ มาสิ,
- หน น. ทาง, ทิศ, เช่น หนเหนือ หนใต้; ครั้ง, คราว, เช่น กี่หน; ที่, สถานที่, เช่น ถึงยามค่ำน้ำค้างลงพร่างพร้อย น้องจะลอยลมบนไปหนใด. (นิราศอิเหนา),
- หนี ก. ไปเสียให้พ้น, หลีกไปให้พ้น, เช่น หนีภัย หนีทุกข์; หลีกเลี่ยง เช่น หนีภาษี หนีโรงเรียน.
- ยะ ๑ คำประกอบข้างหน้าคำที่ตั้งต้นด้วย ย ในบทกลอน มีความแปลอย่างเดียวกับคำเดิมนั้น เช่น ยะยอง ยะยั่ง ยะยัด ยะย้อย ยะย้าย. ๒ ว.
- เน้นหนัก v. ให้ความสำคัญ , , ชื่อพ้อง: เน้น, เน้นย้ำ ตัวอย่างการใช้: คำสอนของขงจื้อเน้นหนักที่ความเป็นผู้มีศีลธรรมดีงามและศีลธรรม
- สิเนหก น. เพื่อน. (ป.).
- สิเนหะ สิเหฺน่หา น. ความรัก, ความมีเยื่อใย, เช่น เขาให้สร้อยเส้นนี้แก่ฉันด้วยความสิเน่หา. (ป.; ส. เสฺนห).
- สิเนหา สิเหฺน่หา น. ความรัก, ความมีเยื่อใย, เช่น เขาให้สร้อยเส้นนี้แก่ฉันด้วยความสิเน่หา. (ป.; ส. เสฺนห).
- สั่นหน้า ส่ายหน้า
- สั้นหนา ม่อต้อ อ้วนเตี้ย เตี้ยหนา สั้นทู่ มีขนแข็ง มีตอไม้ สั้นใหญ่ เหมือนตอ เหมือนตอไม้
- กล้ามเนื้อส่วนหน้า เซอราตัส กล้ามเนื้อส่วนหน้าเซอราตัส
- กล้ามเนื้อส่วนหน้าเซอราตัส กล้ามเนื้อส่วนหน้า เซอราตัส
- การเน้นหนัก การเน้น
- เนินหัวเหน่า หัวเหน่า
- สักวันหนึ่ง วันหนึ่ง