สิเน่หา คือ
"สิเน่หา" การใช้
สิเหฺน่หา
น. ความรัก, ความมีเยื่อใย, เช่น เขาให้สร้อยเส้นนี้แก่ฉันด้วยความสิเน่หา. (ป.; ส. เสฺนห).
- สิ คำประกอบท้ายคำอื่นเพื่อเสริมข้อความให้เด่น ให้ชัด หรือให้สละสลวย เป็นต้น, โดยมากใช้กับกริยาเป็นเชิงบังคับ เชิงชวน หรือรับคำ เป็นต้น เช่น ไปสิ มาสิ,
- หา ๑ ก. มุ่งพบ, พบ, เช่น ไปหาหมอ เพื่อนมาหา; เยี่ยม, เยี่ยมเยียน, เช่น เพิ่งทราบว่าครูกำลังป่วย ต้องไปหาท่านเสียหน่อย; ฟ้อง, กล่าวโทษ, เช่น
- สิเนหา สิเหฺน่หา น. ความรัก, ความมีเยื่อใย, เช่น เขาให้สร้อยเส้นนี้แก่ฉันด้วยความสิเน่หา. (ป.; ส. เสฺนห).
- มีเนื้อหา เป็นของจริง. เป็นเนื้อหนังมังสา มีแก่นสาร มีใจความ
- เนื้อหา น. ใจความสำคัญ, ข้อสำคัญ, สาระสำคัญ; วงเงินตามข้อตกลงที่จ้างหามา รวมทั้งค่ารถค่าอาหาร เป็นต้น (มักใช้แก่การมหรสพ เช่น ลิเก ละคร).
- สู่หา ก. ไปมาหากัน.
- หางเนย นมใสหลังจากการทําเนย
- เนื้อหาวิชา n. สาระสำคัญของวิชา ตัวอย่างการใช้: อาจารย์กำหนดจุดมุ่งหมายและรายละเอียดของเนื้อหาวิชา เพื่อให้นักเรียนสามารถนความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้
- เพิ่มเนื้อหา อธิบายเพิ่มเติม ให้รายละเอียดเพิ่มเติม
- สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่กินเนื้อเป็นอาหาร พืชกินแมลง
- สิเนรุ -เน-รุ น. ชื่อหนึ่งของเขาพระสุเมรุ. (ป.).
- สิเนหก น. เพื่อน. (ป.).
- สิเนหะ สิเหฺน่หา น. ความรัก, ความมีเยื่อใย, เช่น เขาให้สร้อยเส้นนี้แก่ฉันด้วยความสิเน่หา. (ป.; ส. เสฺนห).
- สีเนื้อ สีผิว
- สืบเนื่อง 1) v. ชื่อพ้อง: ต่อเนื่อง, สืบไป 2) v. เกิดขึ้นตามมา , ตัวอย่างการใช้: ธุรกิจนี้กำลังได้รับความนิยมกันอย่างกว้างขวาง สืบเนื่องมาจากการขยายตัวของมินิคอมพิวเตอร์
ประโยค
- จ้องมองเขา ระหว่างกิจกรรมแสดงความสิเน่หา
- หรือจะเป็นเพราะสิเน่หากันนะ ?
- เราสิเน่หาต่อความอ้วน