เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

สึก คือ

สัทอักษรสากล: [seuk]  การออกเสียง:
"สึก" การใช้"สึก" อังกฤษ"สึก" จีน
ความหมายมือถือ

  • ก. กร่อนไป, ร่อยหรอไป, เช่น รองเท้าสึก บันไดสึก.

    (ปาก) ก. ลาสิกขา, ลาสึก ก็ว่า.

    น. การรู้ตัว, การระลึกได้, การจำได้, มักใช้ควบกับคำ รู้ เป็น รู้สึก และแผลงว่า สำนึก ก็มี.
  • สัก    ๑ น. ชื่อไม้ต้นชนิด Tectona grandis L.f. ในวงศ์ Labiatae เนื้อไม้แข็งและคงทน ปลวกไม่กิน เหมาะแก่การสร้างบ้านและทำเครื่องเรือน ใบและเนื้อไม้ใช้ทำยาได้. ๒ ก. ทำให้ตึง, ทำให้แน่น, เช่น สักว่าว สักที่นอ
  • สุก    สุกกะ- ว. ขาว, สว่าง, สะอาด, ดี, เช่น สุกธรรม. (ป. สุกฺก). ๑ ก. พ้นจากห่าม เช่น ผลไม้สุก, เปลี่ยนสภาพจากดิบด้วยกรรมวิธีต่าง ๆ อย่างต้ม ผัด ย่าง เป็นต้น เช่น ต้มไก่สุกแล้ว ย่างเนื้อให้สุก, ถึงระยะที่
  • สุก-    ๓ สุกกะ- ว. ขาว, สว่าง, สะอาด, ดี, เช่น สุกธรรม. (ป. สุกฺก).
  • สุกี้    สุกียากี้
  • สีสุก    น. ชื่อไผ่ ๒ ชนิดในสกุล Bambusa วงศ์ Gramineae แขนงมีหนาม คือ ชนิด B. blumeana Schult. ลำต้นใหญ่ตรง และชนิด B. flexuosa Munro ลำต้นเล็กไม่ค่อยตรง. (ข. ฤสฺสีสฺรุก).
  • สิ่งที่รู้สึก    ตัวที่รับความรู้สึกหรือมีปฎิกิริยาต่อสิ่งกระตุ้นโดยการเคลื่อนไหว เครื่องส่งสัญญาณชนิดหนึ่งที่ไวต่อแสง อุณหภูมิระดับรังสี
  • ก.ส.ศ.    ปีก่อน ค.ศ. ก่อน ค.ศ.
  • กุรุส    น. มาตรานับจำนวน เท่ากับ ๑๒ โหล หรือ ๑๔๔. (อ. gross).
  • กุสุม    กุสุมะ-, กุสุมมะ- (แบบ) น. ดอกไม้. (ป.).
  • กุสุม-    กุสุมะ-, กุสุมมะ- (แบบ) น. ดอกไม้. (ป.).
  • กุสุมภ์    (แบบ) น. ดอกคำ. (ป.).
  • กุสุมา    (แบบ) น. ดอกไม้. (ป.).
  • ผู้รู้สึก    ผู้สัมผัส
  • ภิสัก    น. หมอ, แพทย์. (ป. ภิสกฺก; ส. ภิษชฺ).
  • มุสิก    น. หนู. (ป. มูสิก).
ประโยค
  • จนถึงตอนนี้ผมก็ยังรู้สึกว่าท่านจะให้โอกาสผมอีก
  • ข้าพระองค์ไม่รู้สึกเสียใจในสิ่งที่ได้กระทำลงไป
  • ข้ารู้สึกเสียใจที่ได้รู้ในโชคชะตาของแม่ของเจ้า
  • แต่ฉันไม่รู้สึกถึงความผิดปกติของครอบครัวเขาเลย
  • คือได้รับข้อความแล้วไม่ได้รู้สึกแบบเดียวกับเรา
  • คนที่รู้สึกขอบคุณแม้ว่าจะไม่ได้รับอะไรเลยก็ตาม
  • แม้ว่าเธอจะเพลิดเพลินกับตอนที่ฉันบอกความรู้สึก
  • แต่เธอมีความรู้สึกสำคัญที่คุณกำลังสูญเสียมันไป
  • สำหรับเธอความรู้สึกนั่นอาจจะเป็นอาการหลงผิดได้
  • เรามีความรู้สึกว่าเธอไม่ค่อยสนุกกับมันเท่าไหร่
  • ตัวอย่างการใช้เพิ่มเติม:  1  2  3  4  5