เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

อมเรศ คือ

การออกเสียง:
ความหมายมือถือ
  • อะมะเรด, -เรสวน
    น. พระอินทร์.
  • อม     ก. เอาสิ่งของใส่ปากแล้วหุบปากไว้ไม่กลืนลงไป, โดยปริยายหมายความว่า ไม่แสดงออกมา เช่น อมภูมิ; กลมกลืน, ปนกัน, เช่น อมเปรี้ยวอมหวาน เขียวอมเหลือง; (
  • อมเรศวร    อะมะเรด, -เรสวน น. พระอินทร์.
  • ภุมเรศ    พุมมะ- น. ภมร, แมลงผึ้ง, แมลงภู่.
  • อมเรนทร์    น. พระอินทร์. (ส. อมร + อินฺทฺร).
  • อู่ซ่อมเรือ    อู่ต่อเรือ อู่เก็บเรือ
  • กับบุเรศ    -เรด (แบบ; กลอน) น. การบูร เช่น กับบุเรศสมุลแว้งก็มี. (ม. คำหลวง มหาพน). (ป. กปฺปุร).
  • ทุเรศ    (ปาก) คำพูดแสดงความรู้สึกเมื่อประสบสิ่งที่ขัดหูขัดตาหรือเป็นที่น่าสมเพชเป็นต้น.
  • ธเรศ    ทะเรด น. ผู้เป็นใหญ่ในแผ่นดิน, พระเจ้าแผ่นดิน. (ส.).
  • นคเรศ    นะคะเรด (กลอน) น. เมือง.
  • นาเรศ    (กลอน) น. นาง, ผู้หญิง.
  • นเรศ    นะเรนทฺระสูน, นะเรด, นะเรสวน, นะเรสูน (แบบ) น. พระราชา. (ส. นร + อินฺทฺร + สูร, นร + อีศ, นร + อีศฺวร).
  • นเรศูร    นะเรนทฺระสูน, นะเรด, นะเรสวน, นะเรสูน (แบบ) น. พระราชา. (ส. นร + อินฺทฺร + สูร, นร + อีศ, นร + อีศฺวร).
  • น่าทุเรศ    น่าชัง น่าเกลียดมาก น่าดูถูก น่ารังเกียจมาก
  • บทเรศ    บดทะ- (กลอน) น. เท้า เช่น กราบบทเรศราชบิดา ท่านแล. (ม. คำหลวง ฉกษัตริย์).
  • บิตุเรศ    (กลอน) น. พ่อ.