อักขรสมัย คือ
สัทอักษรสากล: [ak kha ra sa mai] การออกเสียง:
"อักขรสมัย" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
อักขะหฺระสะไหฺม
น. วิชาหนังสือว่าด้วยการอ่านการเขียน. (ป.).
- อัก น. เครื่องสำหรับคัดด้ายหรือไหม มีรูปคล้ายระวิง สำหรับพันด้ายหรือไหมเป็นตอน ๆ ตามลำดับเส้นใหญ่และเล็ก.
- อักขร อักขะหฺระ- น. ตัวหนังสือ. ( ป. ; ส. อกฺษร).
- รส น. สิ่งที่รู้ได้ด้วยลิ้น เช่น เปรี้ยว หวาน เค็ม ฝาด, โดยปริยายหมายถึง ความไพเราะ เช่น กลอนบทนี้ไม่มีรส. ( ป. , ส. ).
- สม ๑ ว. เหมาะ, เหมาะกับ, ควรแก่, เช่น บ่าวสาวคู่นี้สมกัน เขาแต่งตัวสมฐานะ แสดงละครได้สมบทบาท เขาต่อสู้กันอย่างสมศักดิ์ศรี เด็กคนนี้แต่งตัวไม่สมวัย,
- สมัย สะไหฺม น. เวลา, คราว, เช่น สมัยโบราณ สมัยกลาง สมัยปัจจุบัน, มักใช้เข้าคู่กับคำ กาล เป็น กาลสมัย. ( ป. , ส. ).
- มัย ๑ น. ม้า, ลา, อูฐ. ( ป. , ส. มย). ๒ ว. สำเร็จด้วย, แล้วด้วย, ประกอบด้วย, (ใช้ประกอบท้ายสมาส เช่น มโนมัย ว่า สำเร็จด้วยใจ, กุศลมัย ว่า
- อักขระสมัย อักษร
- อักขร- อักขะหฺระ- น. ตัวหนังสือ. (ป.; ส. อกฺษร).
- อักขระ อักขะหฺระ- น. ตัวหนังสือ. (ป.; ส. อกฺษร).
- อักขรวิธี น. วิธีเขียนและอ่านหนังสือให้ถูกต้อง, ชื่อตำราไวยากรณ์ตอนที่ว่าด้วยตัวอักษร การอ่าน การเขียน และการใช้ตัวอักษร. (ป.).
- อักษรสมัย อักสอนสะไหฺม น. วิชาหนังสือว่าด้วยการอ่านการเขียน. (ส.).
- อักขรวิบัติ น. การเขียน อ่าน หรือออกเสียงไม่ถูกต้องตามอักขรวิธี.
- อักขรานุกรม น. หนังสือสำหรับค้นชื่อเรียงลำดับตามตัวอักษร.
- กักขระ ทําตัวป่าเถื่อน
- สักขรา -ขะรา น. น้ำตาล, น้ำตาลกรวด. (ป.; ส. ศฺรกรา).