อาปณกะ คือ
- อา ๑ น. น้องของพ่อ, ( โบ ) เขียนเป็น อาว์ ก็มี. (อีสาน อา ว่า น้องสาวของพ่อ, อาว ว่า น้องชายของพ่อ). ๒ ( กลอน ) ว.
- อาปณ -ปะนะ- น. ตลาด, ร้านขายของ. ( ป. , ส. ).
- กะ พยางค์หน้าอันใช้เป็น กระ- ได้, แต่มีบางคำซึ่งต้องการพยางค์นี้เพื่อสละสลวยหรือเน้นคำให้เด่นขึ้น เช่น เกริก เป็น กะเกริก, หรือเกิดเป็นพยางค์หน้าขึ้น
- อาปณ- -ปะนะ- น. ตลาด, ร้านขายของ. (ป., ส.).
- อาปณะ -ปะนะ- น. ตลาด, ร้านขายของ. (ป., ส.).
- ปณก. ไปรษณีย์กลาง ที่ทําการไปรษณีย์กลาง
- ที่ไม่ได้ฌาปณกิจ ที่ไม่ได้เผา
- กปณก กะปะนก น. ผู้อนาถา, ผู้ไร้ญาติ, ผู้น่าสงสาร, เขียนเป็น กปนก ก็มี เช่น เถ้ากปนกแพนกพล้าว มีแม่ย้าวสาวศรหนึ่งน้นน. (ม. คำหลวง ชูชก). (ป. กปณ).
- กษาปณ์ กะสาบ (แบบ) น. กระษาปณ์, เงินตราที่ทำด้วยโลหะ, ตำลึง (= ๒๐ มาสก) เช่น ได้ถึงร้อยกษาปณ์. (ม. ร่ายยาว ชูชก).
- ปกิณกะ ปะกินนะกะ ว. เรี่ยราย, เบ็ดเตล็ด, กระจาย, ระคนกัน, คละกัน, (มักใช้ประกอบหน้าศัพท์) เช่น ปกิณกคดี. (ป. ปกิณฺณก; ส. ปฺรกีรฺณก).
- ภาณกะ พานะกะ (แบบ) น. ผู้สวด, ผู้กล่าว, ผู้บอก. (ป.).
- กหาปณะ กะหาปะนะ (แบบ) น. เงินตรามีพิกัดเท่ากับ ๒๐ มาสก หรือ ๑ ตำลึง คือ ๔ บาท. (ป.).
- กระษาปณ์ -สาบ น. เงินตราที่ทำด้วยโลหะ เช่น เหรียญกระษาปณ์ โรงกระษาปณ์, กษาปณ์ ก็ใช้. (ส. การฺษาปณ; ป. กหาปณ).
- โรงกษาปณ์ โรงผลิตเหรียญกษาปณ์
- ปณ. ที่ทําการไปรษณีย์