อิทธิปาฎิหาริย์ คือ
"อิทธิปาฎิหาริย์" อังกฤษ
- n.
การปาฎิหารย์โดยฤทธิ์อำนาจ
ตัวอย่างการใช้: ขณะที่พระวชิรญาณภิกขุเสด็จออกธุดงค์ยังปูชนียสถานต่างๆ ก็จะมีอิทธิปาฎิหาริย์เกิดขึ้นเสมอ
- อิ เขา เธอ มัน ชิ หล่อน
- อิทธิ อิดทิ น. ฤทธิ์, อำนาจศักดิ์สิทธิ์; ความเจริญ, ความสำเร็จ, ความงอกงาม. ( ป. ; ส. ฤทฺธิ).
- ทธิ ทะทิ ( แบบ ) น. นมส้ม คือนมที่ขึ้นฝาแปรสภาพเป็นนมเปรี้ยว อยู่ในจำพวกเบญจโครส. ( ป. , ส. ).
- ปา ก. ซัดไปด้วยอาการยกแขนขึ้นสูงแล้วเอี้ยวตัว; ( ปาก ) คำใช้แทนกิริยาได้หลายอย่างแล้วแต่คำประกอบที่ทำให้รู้ว่าเกินกว่าที่คาดคิด, มักใช้ว่า ปาขึ้นไป
- หา ๑ ก. มุ่งพบ, พบ, เช่น ไปหาหมอ เพื่อนมาหา; เยี่ยม, เยี่ยมเยียน, เช่น เพิ่งทราบว่าครูกำลังป่วย ต้องไปหาท่านเสียหน่อย; ฟ้อง, กล่าวโทษ, เช่น
- หาร ๑ หาน ก. แบ่งส่วนเท่า ๆ กัน (ใช้แก่วิธีเลข). น. เรียกเครื่องหมายรูปดังนี้ ÷ ว่า เครื่องหมายหาร. ๒ หาน น. สิ่งที่เอาไปได้; การนำไป,
- หาริ ว. งดงาม, น่าดู, น่ารัก. ( ป. , ส. ).
- ริ ก. เริ่มคิดหรือทำแปลกจากปรกติ (มักใช้ในทางไม่ดี) เช่น ริสูบบุหรี่ ริเที่ยวกลางคืน, ริอ่าน ก็ว่า.
- อิทธิปาฏิหาริย์ น. ฤทธิ์เป็นอัศจรรย์ หมายถึง การแสดงฤทธิ์ที่พ้นวิสัยของสามัญมนุษย์ได้อย่างน่าอัศจรรย์, เป็นปาฏิหาริย์อย่าง ๑ ในปาฏิหาริย์ ๓ ได้แก่ อิทธิปาฏิหาริย์ อาเทสนาปาฏิหาริย์ และอนุสาสนีปาฏิหาริย์. (ป.).
- ปาฏิหาริย์ -ติหาน น. สิ่งที่น่าอัศจรรย์, ความอัศจรรย์, มี ๓ อย่าง คือ ๑. อิทธิปาฏิหาริย์ = ฤทธิ์เป็นอัศจรรย์ หมายถึง การแสดงฤทธิ์ที่พ้นวิสัยของสามัญมนุษย์ได้อย่างน่าอัศจรรย์ ๒. อาเทสนาปาฏิหาริย์ = การดักใจเป
- การมีปาฏิหาริย์ ความอัศจรรย์
- ยมกปาฏิหาริย์ น. ปาฏิหาริย์ที่แสดงเป็นคู่ ๆ เป็นปาฏิหาริย์ที่พระพุทธเจ้าทรงกระทำที่ต้นมะม่วงซึ่งเรียกว่าคัณฑามพพฤกษ์ คือ ทรงบันดาลท่อน้ำท่อไฟออกจากส่วนของพระกายเป็นคู่ ๆ กัน. (ป.).
- อนุสาสนีปาฏิหาริย์ น. การสอนเป็นอัศจรรย์ หมายถึง คำสั่งสอนอันอาจจูงใจคนให้นิยมเชื่อถือไปตามได้อย่างน่าอัศจรรย์, เป็นปาฏิหาริย์อย่าง ๑ ในปาฏิหาริย์ ๓ ได้แก่ อิทธิปาฏิหาริย์ อาเทสนาปาฏิหาริย์ และอนุสาสนีปาฏิหาริย์.
- เหมือนปาฏิหาริย์ น่าประหลาด น่าพิศวง น่าอัศจรรย์
- จตุปาริสุทธิศีล จะตุปาริสุดทิสีน น. ศีลคือความบริสุทธิ์ หรือ ศีลคือเครื่องให้บริสุทธิ์ ๔ ประการ คือ ๑. สำรวมในพระปาติโมกข์ (ปาติโมกฺขสํวร) ๒. สำรวมตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ (อินฺทฺริยสํวร) ๓. เลี้ยงชีพโดยทางชอบ (อา