อุโฆษ คือ
สัทอักษรสากล: [u khōt] การออกเสียง:
"อุโฆษ" การใช้"อุโฆษ" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
-โคด
ว. กึกก้อง. (ส. อุทฺโฆษ; ป. อุคฺโฆส).
- อุ น. น้ำเมาชนิดหนึ่ง ใช้ปลายข้าวและแกลบประสมกับแป้งเชื้อแล้วหมักไว้.
- โฆษณาชวนเชื่อ ก. เผยแพร่อุดมการณ์หรือความคิดเห็น ด้วยกลอุบายต่าง ๆ เพื่อโน้มน้าวจิตใจผู้อื่นให้เห็นคล้อยตาม.
- โฆษณาให้ซื้อ เสนอขาย ชวนให้เลือก ชักชวนให้ซื้อ ประกาศขาย
- คฤโฆษ คะรึโคด (กลอน) ก. กึกก้อง, ดังลั่น, เช่น คฤโฆษกลองฆ้องเคล้า คลี่ดูริย. (ยวนพ่าย).
- นฤโฆษ นะรึโคด (แบบ) ก. ดังออก, กึกก้อง. (ส.).
- นิรโฆษ -ระโคด (แบบ) น. เสียงดัง, เสียงกึกก้อง. ว. ไม่มีเสียง, เงียบ, สงบ, สงัด. (ส.).
- อโฆษะ ว. ไม่ก้อง, เสียงสระหรือพยัญชนะซึ่งขณะที่เปล่งออกมาเส้นเสียงไม่สั่น ในภาษาไทยได้แก่เสียง อ เมื่อเป็นพยัญชนะต้น เสียง บ ด เมื่อเป็นพยัญชนะสะกด และเสียง ก ค จ ช ซ ต ท ป พ ฟ ฮ เสียงสระในภาษาไทยไม่เป็นอ
- โฆษก โคสก น. ผู้ประกาศ, ผู้โฆษณา, เช่น โฆษกสถานีวิทยุ; ผู้แถลงข่าวแทน เช่น โฆษกพรรคการเมือง. (ส.; ป. โฆสก ว่า ผู้ป่าวร้อง, ผู้โฆษณา).
- โฆษณา โคดสะนา ก. เผยแพร่ข้อความออกไปยังสาธารณชน; ป่าวร้อง, ป่าวประกาศ, เช่น โฆษณาสินค้า; (กฎ) กระทำการไม่ว่าโดยวิธีใด ๆ ให้ประชาชนเห็นหรือทราบข้อความเพื่อประโยชน์ในทางการค้า. (ส.; ป. โฆสนา).
- โฆษะ ว. ก้อง, เสียงสระหรือพยัญชนะซึ่งขณะที่เปล่งออกมาเส้นเสียงสั่นในภาษาไทยได้แก่เสียง บ ด เมื่อเป็นพยัญชนะต้น เสียง ง น ม ย ร ล ว และเสียงสระทุกเสียง, (ไว) เรียกพยัญชนะในภาษาบาลีและสันสกฤตที่มีเสียงก้อง
- โฆษิต ก. กึกก้อง, ป่าวร้อง. (ส.; ป. โฆสิต).
- (สมุทรโฆษ) มาจาก สมุทรโฆษคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๘
- ผู้โฆษณา (กฎ) น. บุคคลซึ่งรับผิดชอบในการผลิตสิ่งพิมพ์และจัดให้สิ่งพิมพ์นั้นแพร่หลายด้วยประการใด ๆ ไม่ว่าจะเป็นโดยการขาย เสนอขาย จ่ายแจก หรือเสนอจ่ายแจก และไม่ว่าการนั้นจะเป็นการให้เปล่าหรือไม่.
- การโฆษณาชวนเชื่อ การประชาสัมพันธ์ การต้มคน การรักษาของหมอเถื่อน
- การโฆษณา ธุรกิจโฆษณา การแจ้งความ คำแจ้งความ คำโฆษณา สิ่งที่ใช้ในการโฆษณา อาชีพหรือธุรกิจการโฆษณา ใบปลิว แฮนด์บิล การก่อการ โฆษณา การบอกกล่าว การบอกข่าว ประชาสัมพันธ์ โฆษณาการ การป่าวประกาศ การประชาสัมพันธ์