ู้อวิชชา คือ
"ู้อวิชชา" อังกฤษ
- อวิชชา อะวิดชา น. ความไม่รู้แจ้ง หมายถึง ไม่รู้แจ้งในอริยสัจ ๔; ความเขลา. ( ป. ).
- วิ คำนำหน้าศัพท์ แปลว่า วิเศษ, แจ้ง, ต่าง, เช่น วิสุทธิ วิเทศ. ( ป. , ส. ).
- วิชชา วิด- น. ความรู้แจ้ง เช่น วิชชา ๓ วิชชา ๘ ในพระพุทธศาสนา, วิชชา ๓ คือ ๑. บุพเพนิวาสานุสติญาณ (รู้จักระลึกชาติได้) ๒. จุตูปปาตญาณ
- ชา ๑ น. (๑) ชื่อไม้ต้นขนาดเล็กชนิด Camellia sinensis (L.) Kuntze ในวงศ์ Theaceae ขึ้นตามหุบเขาในเขตร้อน ใบใช้ชงเป็นเครื่องดื่ม, พายัพเรียก
- ทวิชชาติ น. ผู้เกิด ๒ ครั้ง, นก, หมู่นก; พราหมณ์. (ป., ส.).
- ลัชชา ลัด- น. ความละอาย, ความกระดาก. (ป., ส.).
- วณิชชา วะนิดชา น. การค้าขาย. (ป.; ส. วณิชฺยา).
- วิชชา 3 ไตรวิชชา
- สมัชชา สะมัด- น. การประชุมเพื่อประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่งโดยเฉพาะ เช่น ไปร่วมประชุมสมัชชาแห่งชาติ; ที่ประชุม เช่น สมัชชาใหญ่องค์การสหประชาชาติ. (ป.).
- มัชชาระ มัดชาระ น. แมว. (ป.; ส. มารฺชาร).
- วณิชชากร น. ผู้ทำการค้าขาย, พวกพ่อค้า. (ป.).
- ไตรวิชชา -วิดชา น. วิชชา ๓ คือ วิชชาระลึกชาติหนหลังได้ ๑ วิชชารู้ความตายความเกิดของคนและสัตว์ ๑ วิชชารู้ในทางทำให้สิ้นกิเลส ๑.
- นิสัชชาการ น. อาการนั่ง. (ป.), ในบทกลอนใช้ว่า นิสัชชนาการ ก็มี เช่น จึงเสด็จนิสัชชนาการนั่งในร่มไม้. (ม. ร่ายยาว วนปเวสน์).
- อวชาต อะวะชาด, อะวะชาดตะ- ว. มีกำเนิดเลว, ต่ำช้า. (ป., ส.).
- อวชาต- อะวะชาด, อะวะชาดตะ- ว. มีกำเนิดเลว, ต่ำช้า. (ป., ส.).