เข่นเขี้ยว คือ
สัทอักษรสากล: [khen khīo] การออกเสียง:
"เข่นเขี้ยว" การใช้"เข่นเขี้ยว" อังกฤษ"เข่นเขี้ยว" จีน
ความหมายมือถือ
- ก. กัดฟันด้วยความโกรธ, มักใช้เข้าคู่กับคำ เคี้ยวฟัน เป็น เข่นเขี้ยวเคี้ยวฟัน.
- เข ๑ ว. เหล่น้อย (ใช้แก่ตา). ๒ ดู แกแล .
- เข่น ก. ทุบหรือตีอย่างแรงเพื่อให้แบนเป็นต้น เช่น เข่นมีด.
- ข่น ทึม หมอง ไม่ใส
- เขี้ยว น. ฟันแหลมคมสำหรับฉีกเนื้อและอาหาร อยู่ระหว่างฟันหน้ากับกราม, ราชาศัพท์ว่า พระทาฐะ หรือ พระทาฒะ, ( ถิ่น-พายัพ ) ฟัน.
- ขี้ ก. กิริยาที่ถ่ายกากอาหารออกทางทวารหนัก, ถ่ายอุจจาระ, ราชาศัพท์ว่า ลงพระบังคนหนัก. น. กากอาหารที่ร่างกายไม่ต้องการแล้วขับถ่ายออกทางทวารหนัก,
- ฟันเขี้ยว เขี้ยว พระทาฒะ
- มันเขี้ยว ก. อยากกัดอยากกินอยู่เรื่อย ๆ.
- น้ำมันเขียว น. น้ำมันชนิดหนึ่ง สีเขียวแกมน้ำเงิน มีกลิ่นหอมฉุนคล้ายการบูร กลั่นได้จากใบของต้นเสม็ด ใช้สำหรับทา นวด แก้เคล็ดบวมได้.
- น้ํามันเขียว myrtus communis
- เหม็นเขียว ว. มีกลิ่นเหม็นอย่างกลิ่นใบไม้สดบางชนิด.
- เข่นเขี้ยวเคี้ยวฟัน เข่นเขี้ยว โกรธ โมโห กัดฟัน เคี้ยวฟัน
- เข็ดเขี้ยว ก. ไม่กล้าสู้เพราะเคยต่อสู้กัน แล้วสู้ไม่ได้.
- เขียว ๑ (โบ) ก. รีบไป, รีบมา, เคียว หรือ เครียว ก็ใช้. ๒ ว. มีสีอย่างสีใบไม้สด, บางทีหมายถึงเขียวครามด้วย เช่น สุดหล้าฟ้าเขียว โกรธจนหน้าเขียว; กลิ่นเหม็นอย่างกลิ่นใบไม้สดบางชนิด เรียกว่า เหม็นเขียว. ๓ น.
- สิ้นเขี้ยวสิ้นเล็บ (สำ) ก. หมดอำนาจวาสนา, สิ้นฤทธิ์, หมดเขี้ยวหมดงา หรือ หมดเขี้ยวหมดเล็บ ก็ว่า.
- เข็นเข้าบ้าน ผลักเข้าบ้าน